Page 124 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 124

๑๑๑



                                                                    ๑๐
                                                                           ิ
               ความน่าเชื่อถือและความน่าเป็นไปได้ของพยานหลักฐานนั้นเอง  ถ้าพเคราะห์แล้วมีความน่าเชื่อถือ ก็ถือว่า
               พยานหลักฐานมีน้ าหนัก ซึ่งในชั้นออกหมายขัง ถ้าพยานหลักฐานนั้นมีน้ าหนักไปจนถึงระดับมาตรฐานที่ต้อง
               พิสูจน์แล้ว (standard of proof) ศาลก็ออกหมายขังได้

                       มาตรฐานการพิสูจน์ (standard of proof) ไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายให้ความหมายไว้ แต่มี

               นักกฎหมายให้ความหมายไว้ดังนี้ เช่น ศาสตราจารย์โสภณ รัตนากร ให้ความหมายว่า มาตรฐานการพสูจน์
                                                                                                      ิ
               หมายถึง ระดับของความน่าเป็นไปได้ว่าข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นความจริงหรือไม่  ศาสตราจารย์
                                                                                           ๑๑
                                                            ิ
                    ุ
               ดร. อดม รัฐอมฤต ให้ความหมายว่า มาตรฐานการพสูจน์ หมายถึง มาตรฐานหรือระดับขั้นต่ าในการพสูจน์
                                                                                                      ิ
               ข้อเท็จจริง  จึงอาจสรุปสั้นๆ ได้ว่า มาตรฐานการพิสูจน์ หมายถึง มาตรฐานขั นต่ าในการพิสูจน์ข้อเท็จจริง
                        ๑๒
               ว่าเป็นจริงหรือไม่
                                             ิ
                                                                                                       ั
                                                                                      ิ
                       โดยทั่วไป มาตรฐานการพสูจน์ แบ่งออกเป็น ๕ ระดับ ได้แก่ (๑) การพสูจน์ให้เห็นถึงเหตุอนมี
                              ี
                                                           ิ
               พยานหลักฐานเพยงพอ (Probable cause) (๒) การพสูจน์ให้เห็นถึงมูลคดี (prima facie case) (๓) การพสูจน์
                                                                                                      ิ
               ให้เห็นถึงพยานหลักฐานที่น่าเชื่อถือกว่า (preponderance of evidence) (๔) การพสูจน์ให้เห็นว่าพยาน
                                                                                        ิ
               หลักฐานนั้นมีความน่าเชื่อถืออย่างชัดเจน (clear and convincing evidence) และ (๕) การพิสูจน์ให้ได้ความ
                                                                   ั
               ชัดแจ้งโดยปราศจากข้อสงสัยตามสมควร หรือปราศจากเหตุอนควรสงสัย (beyond reasonable doubt)
                                                                                                        ๑๓
               ส่วนคู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๙ ของส านักงานศาลยุติธรรม แบ่งมาตรฐาน
               การพสูจน์ในคดีอาญาออกเป็น ๔ ระดับเท่านั้น เข้าใจว่าเป็นการแบ่งเพอความสะดวกในการอธิบายในแง่ของ
                                                                          ื่
                    ิ
                                                             ี
               การออกค าสั่งหรือหมายอาญา เริ่มจากระดับ ๑ มีเพยงเหตุสงสัย แต่ยังไม่มีข้อมูลหรือพยานหลักฐานใด
               สนับสนุนให้น่าเชื่ออย่างเพียงพอว่าบุคคลนั้นได้กระท าความผิด ระดับ ๒ มีข้อมูลหรือพยานหลักฐานสนับสนุน
                                   ี
               เหตุอนควรสงสัยมากเพยงพอที่จะท าให้น่าเชื่อว่าบุคคลใดน่าจะได้กระท าความผิด (Probable cause) ระดับ ๓
                    ั
               มีพยานหลักฐานมากเพียงพอที่จะน าคดีเข้าสู่กระบวนการวินิจฉัยชี้ขาดว่าบุคคลนั้นได้กระท าความผิด ระดับ ๔
                                   ี
               มีพยานหลักฐานมากเพยงพอที่ท าให้เชื่อโดยปราศจากความสงสัยตามสมควรว่าจ าเลยได้กระท าความผิดอย่าง
                                                    ิ
                      ๑๔
               แน่นอน  จะเห็นได้ว่าระดับมาตรฐานการพสูจน์ ๔ ระดับข้างต้น เกณฑ์มาตรฐานในการออกหมายขัง จะอยู่
               ในระดับที่ ๒ คือ มีพยานหลักฐานตามสมควรที่จะท าให้น่าเชื่อว่าบุคคลใดน่าจะได้กระท าความผิดอาญา
               (Probable cause) ซึ่งจะเป็นระดับเดียวกับการออกหมายจับ

                       เพอง่ายในการท าความเข้าใจแนวปฏิบัติของศาล ผู้เขียนจึงขอยึดการแบ่ง ๔ ระดับตามคู่มือการออก
                         ื่
               ค าสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๙ ของส านักงานศาลยุติธรรม ตัวอย่างเช่น ทรัพย์สินมีค่าหลายรายการของ

               ธนาคารหายไปในเวลากลางคืน ในวันรุ่งขึ้นไม่สามารถติดต่อพนักงานรักษาความปลอดภัยที่เข้าเวรกะกลางคืน




                       ๑๐  อุดม รัฐอมฤต, ค าอธิบายกฎหมายลักษณะพยาน, พิมพ์ครั้งที่ ๙ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, ๒๕๖๔), น. ๑๙๔.
                       ๑๑  โสภณ รัตนากร, ค าอธิบายกฎหมายลักษณะพยาน, พิมพ์ครั้งที่ ๑๑ (กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ, ๒๕๕๗), น. ๕๒๐.

                                                              ิ
                       ๑๒  อุดม รัฐอมฤต, ค าอธิบายกฎหมายลักษณะพยาน, พมพ์ครั้งที่ ๙ (กรุงเทพฯ: วิญญูชน, ๒๕๖๔), น. ๑๘๗.
                       ๑๓  อุดม รัฐอมฤต, เพิ่งอ้าง, น. ๑๘๗.
                       ๑๔  คู่มือการออกค าสั่งหรือหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๙ น. ๒๑.
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129