Page 155 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 155

๑๔๒



                 บทน ำ

                                   ิ
                                                                       ิ
                                   การพจารณาคดีอาญาของศาลนั้น  ยึดหลักการพจารณาและสืบพยานต่อหน้าจ าเลยตาม
                                                                                              ิ
                 ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๗๒ วรรคหนึ่งที่บัญญัติไว้ว่า “การพจารณาและ
                                    ิ
                 สืบพยานในศาล ให้ท าโดยเปิดเผยต่อหน้าจ าเลย เว้นแต่บัญญัติไว้เป็นอย่างอน” ซึ่งหากมีกรณีจ าเลยที่
                                                                                  ื่
                 ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลหลบหนี หรือจ าเลยผู้ไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกของศาลซึ่งต่อมาศาลออก
                 หมายจับ หากยังไม่สามารถจับกุมจ าเลยมาได้ ศาลจะพจารณาคดีต่อไปไม่ได้ ต้องงดการพิจารณา ย่อมท า
                                                               ิ
                 ให้การพิจารณาพิพากษาคดีล่าช้า อันส่งผลถึงการบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพด้วย
                                                                    ิ
                                                          ื่
                                    ด้วยปัญหาและความส าคัญเพอให้การพจารณาพพากษาคดีด าเนินไปได้อย่างมี
                                                                            ิ
                 ประสิทธิภาพ จึงมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อย
                 ชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐  ด้วยเหตุผลคือมีผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
                                           ิ
                 หลบหนีไปท าให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลต้องล่าช้า ส่งผลกระทบต่อนโยบายในการป้องปราม
                                    ิ
                 อาชญากรรม สาเหตุส าคัญประการหนึ่งคือการไม่มีเจ้าพนักงานก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวให้ปฏิบัติตาม

                 เงื่อนไขต่าง ๆ ที่ศาลก าหนดเพอป้องกันการหลบหนีหรือภัยอนตรายหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
                                            ื่
                                                                      ั
                 นอกจากนี้ เมื่อเกิดการหลบหนีก็ไม่มีเจ้าพนักงานที่มีอานาจหน้าที่โดยตรงในการติดตามจับกุมผู้ต้องหา

                                                            ื่
                                                                     ิ
                 หรือจ าเลยเหล่านั้นกลับมาด าเนินคดี ดังนั้น เพอให้การพจารณาพพากษาคดีด าเนินไปได้อย่างมี
                                                                             ิ
                 ประสิทธิภาพ สมควรก าหนดมาตรการก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวและการติดตามจับกุมผู้ต้องหาหรือ
                 จ าเลยที่หลบหนี รวมทั้งการน าเงินค่าปรับตามค าพพากษาในคดีอาญามาใช้เป็นค่าใช้จ่ายในมาตรการ
                                                             ิ
                 ดังกล่าว  โดยมาตรา ๗ ของพระราชบัญญัตินี้ บัญญัติว่า “เมื่อมีการจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้รับ
                        1
                 การปล่อยชั่วคราวโดยศาลซึ่งหลบหนีและได้ส่งตัวต่อศาลแล้ว ให้ผู้แจ้งความน าจับมีสิทธิได้รับเงินสินบน

                 และเจ้าหน้าที่ผู้จับมีสิทธิได้รับเงินรางวัล” ดังนี้ การที่ผู้แจ้งความน าจับจะมีสิทธิได้รับเงินสินบนก็ดี

                 หรือเจ้าหน้าที่ผู้จับจะมีสิทธิได้รับเงินรางวัลก็ดีต้องเป็นการจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้รับการปล่อย
                 ชั่วคราวโดยศาลซึ่งหลบหนีเท่านั้น แต่หากเป็นกรณีการจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลยตามหมายจับของศาล

                 ในกรณีอนที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยมิใช่ผู้ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลจึงไม่เข้าเงื่อนไขและหลักเกณฑ์
                        ื่
                 ในการที่จะได้รับเงินสินบนและเงินรางวัลตามพระราชบัญญัติดังกล่าว อนเป็นข้อจ ากัดในการได้รับเงิน
                                                                              ั
                                                           ั
                 สินบนและเงินรางวัลตามพระราชบัญญัติดังกล่าวอนอาจเกิดผลกระทบต่อการสร้างแรงจูงใจแก่ผู้แจ้งความ
                 น าจับและเจ้าหน้าที่ผู้จับเพอตอบแทนการปฏิบัติงานที่ยากล าบากและเสี่ยงต่อการได้รับอนตรายจากการ
                                                                                           ั
                                        ื่
                 ปฏิบัติหน้าที่
                               โดยบทความนี้มีเนื้อหาดังนี้

                                    ๑. สาระส าคัญของพระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อย
                 ชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐



                     1
                         พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐.  (๒๕๖๐, ๒๖
                 กันยายน) ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๙๘ ก. หน้า ๑-๔.
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160