Page 51 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 51
38
แม้มีรายงานการสืบสวนขยายผลซึ่งเจ้าพนักงานต ารวจลงลายมือชื่อรับรองก็ตาม แต่เมื่อไม่น าเจ้าพนักงานต ารวจ
ผู้นั้นมาเบิกความและยังไม่ใช่เจ้าพนักงานต ารวจที่ร่วมจับกุมตนเองหรือเป็นพนักงานสอบสวนในคดีที่ตนเองถูก
37
ด าเนินคดี ย่อมไม่มีน้ าหนักให้เชื่อถือ ก็ตาม แต่ยังคงพบว่ามีหลายกรณีเป็นการกระท าโดยมิชอบโดยเจ้า
พนักงานผู้จับนั้นเอง ซึ่งแนวค าพิพากษาฎีกาข้างต้นไม่อาจแก้ปัญหานี้ได้อย่างรอบด้าน
ื่
เพอป้องกันมิให้มีการซื้อขายใบ ๑๐๐/๒ หรือสร้างพยานหลักฐานเท็จแล้วน ามายื่นต่อศาล
้
ผู้เขียนมีความเห็นว่าศาลควรวางหลักเกณฑและวิธีการให้ขอมูลของผู้กระท าความผิดหรือจ าเลยต่อเจ้าพนักงาน
์
ไว้เป็นขั้นตอนและแบบปฏิบัติอย่างเดียวกัน โดยประการแรก เจ้าพนักงานผู้จับหรือพนักงานสอบสวนควรต้อง
ี
บันทึกถ้อยค าที่ผู้กระท าผิดให้ข้อมูลไว้อย่างละเอยด โดยเฉพาะชื่อ ภูมิล าเนาที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และ
รูปพรรณสัณฐานของผู้กระท าผิดรายอน รวมถึงพฤติการณ์การซื้อขายยาเสพติดไว้ในบันทึกการจับกุมหรือ
ื่
ค าให้การชั้นสอบสวน ประการที่สอง เมื่อขยายผลจับกุมผู้กระท าผิดรายอนตามข้อมูลนั้นได้แล้ว ควรต้อง
ื่
ื่
บันทึกชื่อผู้กระท าผิดที่ให้ข้อมูลลงในบันทึกการจับกุมของผู้กระท าผิดรายอนนั้นด้วย หรือหากจับกุมตัว
ื่
ผู้กระท าผิดรายอนไม่ได้แต่มีการขยายผลไปยึดยาเสพติดจ านวนอนได้ หรือยึดอายัดทรัพย์สินอนที่ได้มาจาก
ื่
ื่
การกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดก็ควรต้องบันทึกชื่อผู้กระท าผิดที่ให้ข้อมูลลงในบันทึกการตรวจยึดยาเสพ
ติดของกลางหรือบันทึกการตรวจยึดทรัพย์สินนั้นแทน ประการที่สาม ให้พนักงานสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน
การขยายผลการจับกุมผู้กระท าผิดรายอนตามข้อมูลนั้นไว้ในส านวนการสอบสวนเพอน าเสนอในชั้นศาล
ื่
ื่
ประการที่สี่ ก่อนที่พนักงานสอบสวนจะส่งส านวนการสอบสวนให้พนักงานอยการกลั่นกรองตามระเบียบของ
ั
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดฯ ควรให้เสนอส านวนการสอบสวนดังกล่าวต่อผู้ก ากับการ
สถานีต ารวจซึ่งเป็นหัวหน้าสถานีต ารวจ หรือเสนอต่อผู้บังคับการซึ่งเป็นหัวหน้ากองบังคับการ อนเป็น
ั
ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยงานนั้นให้พจารณากลั่นกรองก่อน โดยผู้ก ากับการสถานีต ารวจหรือผู้บังคับการ
ิ
(แล้วแต่กรณี) ต้องลงลายมือชื่อรับรองการตรวจสอบในเอกสารหลักฐานของมาตรา ๑๐๐/๒ และท าหนังสือ
ี
รับรองการให้ข้อมูลตามมาตรา ๑๐๐/๒ แนบไว้ด้วย มิใช่มีเพยงหัวหน้าชุดจับกุมซึ่งเป็นระดับรองสารวัตรหรือ
สารวัตรลงลายมือชื่อในบันทึกการจับกุมเท่านั้น จากนั้นจึงเสนอส านวนการสอบสวนให้พนักงานอยการ
38
ั
พิจารณาตามระเบียบของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดฯ ต่อไป และประการที่ห้า ในกรณีที่
พนักงานผู้จับหรือพนักงานสอบสวนจะมาเบิกความเป็นพยานในเรื่องมาตรา ๑๐๐/๒ ต่อศาล หากเป็นกรณี
พนักงานอยการบรรยายค าร้องตามมาตรา ๑๐๐/๒ มาในค าฟองซึ่งศาลควรต้องไต่สวนเพอให้ได้ข้อความจริง
ื่
ั
้
โดยมีการขอศาลออกหมายเรียกให้มาเบิกความ ในหมายศาลควรระบุด้วยว่าเป็นเรื่องมาตรา ๑๐๐/๒ แต่หาก
พนักงานผู้จับหรือพนักงานสอบสวนเป็นพยานที่ผู้กระท าผิดหรือจ าเลยน ามาเอง กรณีนี้ควรต้องได้รับอนุญาต
เป็นหนังสือจากผู้ก ากับการสถานีต ารวจหรือผู้บังคับการ (แล้วแต่กรณี) โดยเนื้อหาในหนังสืออนุญาตจะต้อง
ื่
ระบุชัดว่าเป็นเรื่องมาตรา ๑๐๐/๒ พร้อมกับน าหนังสืออนุญาตนี้มายื่นแสดงต่อศาลเพอรวมเก็บไว้ในส านวนคดี
ของศาลด้วย มิใช่เพียงแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาที่ปกครองโดยตรงทราบล่วงหน้า ๑ วัน ซึ่งโดยทั่วไปเจ้าพนักงานต ารวจ
ที่จะมาเบิกความมักเป็นต ารวจชุดจับกุมที่เป็นชั้นประทวนไปจนถึงรองสารวัตร ผู้บังคับบัญชาโดยตรงก็
37 ค าพิพากษาฎีกาที่ ๒๔๔๖/๒๕๖๒.
38 ค าสั่งส านักงานต ารวจแห่งชาติที่ ๔๑๙/๒๕๕๖ เรื่อง การอ านวยความยุติธรรมในคดีอาญา การท าส านวนการ
สอบสวน และมาตรการควบคุม ตรวจสอบ เร่งรัดการสอบสวนคดีอาญา บทที่ ๔ มาตรการควบคุม ตรวจสอบ และเร่งรัดการ
สอบสวนคดีอาญา.