Page 57 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 57
๔๔
possessing the forest land and cutting timbers, including killing wildlife animals. Mostly the
prosecuted defendants committed crimes because of the economic and social problems.
Apart from imprisonment, the probation measures can be introduced to allow offenders to
work in society or to serve the public service in such area. This measures encourage
offenders to have more social responsibility and be aware of the environmental crisis. In
additional, these are also compensational measure for the damage caused by them. The
creative sentencing by applying innovative probation measures should be more supported.
Keyword : Probation, Environment, Forest
บทน า
การคุมความประพฤติของผู้กระทําความผิดมีการบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56
ื้
้
ซึ่งเป็นมาตรการอย่างหนึ่งที่มาทดแทนการลงโทษจําคุก อันมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีการลงโทษเพื่อแกไขฟนฟ ู
ิ่
ผู้กระทําความผิด มาตราดังกล่าวมีการแก้ไขโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายอาญา
ื่
(ฉบับที่ 25) พ.ศ. 2559 มีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขเพอเปิดโอกาสให้ผู้กระทําความผิดเพยงเล็กน้อยได้รับ
ี
ิ่
โอกาสในการรอการกําหนดโทษหรือรอการลงโทษ ซึ่งการแก้ไขดังกล่าวมีการเพมเงื่อนไขเพอคุมความ
ื่
ประพฤติให้มีมากขึ้น โดยยึดหลักการเพอป้องกันมิให้มีการกระทําความผิดซ้ําและกําหนดวิธีการเยียวยา
ื่
ผู้เสียหายอย่างเหมาะสม และยังช่วยให้ผู้กระทําความผิดได้รับโอกาสแก้ไขความผิดของตนโดยไม่มีมลทิน
ติดตัว สร้างความรู้สํานึกในการกระทําความผิดให้แก่ผู้กระทําความผิดมากยิ่งขึ้น แต่เพื่อให้ศาลใช้ดุลพนิจให้
ิ
เหมาะสมประธานศาลฎีกาจึงออกคําแนะนําของประธานศาลฎีกาเกี่ยวกับวิธีการรอการกําหนดโทษ การรอ
การลงโทษและการกําหนดเงื่อนไขเพอคุมความประพฤติ พ.ศ. 2559 เพอให้ศาลใช้ดุลพนิจให้เหมาะสม
ื่
ื่
ิ
ยิ่งขึ้น ศาลจังหวัดฮอดมีการนําบทบัญญัติและคําแนะนําดังกล่าวมาใช้บังคับแก่ผู้กระทําความผิดในคดี
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
คดีสิ่งแวดล้อมนั้น ผู้กระทําความผิดอาจมีทั้งเป็นบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ซึ่งปัจจุบันหากเป็น
บุคคลธรรมดา ศาลจะลงโทษผู้กระทําความผิดได้ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 18 คือ ประหารชีวิต
จําคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน ส่วนผู้กระทําความผิดที่เป็นนิติบุคคล ศาลคงลงโทษผู้กระทําความผิดได้
ี
1
เพยงปรับและริบทรัพย์สินเท่านั้นซึ่งไม่อาจนําวิธีการคุมความประพฤติมาใช้ได้ แต่อย่างไรก็ดี ศาลจังหวัด
ํ
ํ
ํ
ํ
ฮอด ซึ่งตั้งอยู่ที่อาเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตอานาจตลอดอาเภอฮอด อาเภอจอมทอง อาเภอดอยเต่า
2
ํ
อําเภออมก๋อย และอําเภอแม่แจ่มยกเว้นตําบลแจ่มหลวง ตําบลบ้านจันทร์ ตําบลแม่แดด ในจังหวัดเชียงใหม่
ุ
ุ
ื้
พนที่ส่วนใหญ่จึงเป็นป่าสงวนแห่งชาติ และอทยานแห่งชาติหลายแห่ง เช่น อทยานแห่งชาติออบหลวง และ
ํ
ุ
อทยานแห่งชาติดอยอนทนนท์ เป็นต้น ส่วนใหญ่ผู้กระทําความผิดในคดีสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตอานาจจะ
ิ
เป็นบุคคลธรรมดาโดยจะเป็นคดีที่เกี่ยวกับชาวบ้านเข้าไปบุกรุกป่าและอทยานแห่งชาติ อนมีผลกระทบต่อ
ุ
ั
1 นายชโลทร ไทยมา, การบังคับมาตรการทางอาญาแก่นิติบุคคลที่กอให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม
่
(ออนไลน์), 19 สิงหาคม 2564, aw.master.kbu.ac.th/StudentTheses/2558/2558-013.pdf?fbclid=
IwAR3WZtqQvCNsBdb WNuQ9LHzbZODXuYkonDjDRJRDyXtFPUjKfYm1YDBIaxg
2 ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดวันเปิดทําการศาลจังหวัดฮอด พ.ศ. 2558