Page 11 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 11

ของคณะกรรมการ และหลักเกณฑ์วิธีการเสนอปัญหา  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

               เข้าสู่การวินิจฉัยของคณะกรรมการ และต่อมาได้มี           ๑) ผู้ที่ได้รับคัดเลือกจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
               การตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจ  จำนวนหนึ่งคน


                                                        ๑
               หน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔  ขึ้น           ๒) ผู้ที่ได้รับคัดเลือกจากที่ประชุมใหญ่ตุลาการ
               โดยปรับแก้ไขเพิ่มเติมกรอบระยะเวลาของกระบวนการ  ในศาลปกครองสูงสุด จำนวนหนึ่งคน
               โต้แย้งเขตอำนาจศาลสำหรับการฟ้องคดีต่อ                   ๓) ผู้ที่ได้รับคัดเลือกจากที่ประชุมใหญ่ตุลาการ
               ศาลปกครองหรือศาลอื่นที่ไม่ใช่ศาลยุติธรรม  พระธรรมนูญในศาลทหารสูงสุด จำนวนหนึ่งคน

               และศาลทหาร และในระหว่างเข้าสู่กระบวนการ                 ๔) ผู้มีความรู้และประสบการณ์ด้านกฎหมาย
               วินิจฉัยชี้ขาดเขตอำนาจศาล ให้ศาลที่รับฟ้องมีดุลพินิจ  ที่มิใช่ผู้พิพากษาหรือตุลาการ ซึ่งได้รับคัดเลือก

               ในการพิจารณาคดีต่อไปได้ แก้ไขเพิ่มเติมระยะเวลา  โดยที่ประชุมของกรรมการโดยตำแหน่งและกรรมการ
               การพิจารณาคำร้องขอให้คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด  ผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๑ - ๓ จำนวนหนึ่งคน

               อำนาจหน้าที่ระหว่างศาลพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดกรณี         พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาด
               คำพิพากษาหรือคำสั่งที่ถึงที่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกัน   อำนาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๘

               รวมทั้งกำหนดให้มีผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการ  ได้กำหนดให้เลขานุการศาลฎีกาเป็นเลขานุการ
               วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล เพื่อทำหน้าที่  คณะกรรมการ มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการตามที่

               ช่วยเหลืองานของเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัย  คณะกรรมการกำหนด เลขานุการศาลฎีกาจึงเป็น
               ชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ในการปฏิบัติหน้าที่  ผู้มีหน้าที่บริหารงานธุรการของคณะกรรมการ

               ตามที่คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่  ให้ดำเนินการไปด้วยความเรียบร้อย และพระราชบัญญัต   ิ
               ระหว่างศาลกำหนด  และให้ผู้ช่วยเลขานุการ  ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

               คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล  (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดให้มีผู้ช่วยเลขานุการ
               ได้รับประโยชน์ตอบแทนตามที่กำหนดใน  คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

               พระราชกฤษฎีกา                                    เพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลืองานของเลขานุการคณะกรรมการ
                                                                วินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ในการปฏิบัติ
               องค์ประกอบ                                       หน้าที่ตามที่คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่

                       คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่  ระหว่างศาลกำหนด

               ระหว่างศาล ประกอบด้วยกรรมการโดยตำแหน่ง
               และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่เกิน ๔ คน ดังนี้



               กรรมการโดยตำแหน่ง

                       ๑) ประธานศาลฎีกา เป็นประธานกรรมการ
                       ๒) ประธานศาลปกครองสูงสุด

                       ๓) หัวหน้าสำนักตุลาการทหาร
                       ๔) ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นอีกไม่เกินสี่คนตามที่

               กฎหมายบัญญัติเป็นกรรมการ

                       ๑   พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
               เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔


                                                                           ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี  ๒ ๕ ๖ ๔  9
                                                                           คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16