Page 11 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 11

ประสิทธิภาพการใช

                                  Emergency Resternotomy Set in ICU



         จัดทําโดย นางสาวรัตติพร   สามทอง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

         ผูนําเสนอ นางสาวธิดา  รักษาแสง  พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

         หนวยงาน ICU CVT โรงพยาบาลตรัง




    หลักการและเหตุผล

    ตัวชี้วัดcomplication หลังผาตัดหัวใจแบบเปด ที่เปนอันตรายถึงชีวิต พบวาภาวะ

    Cardiactemponard ,External bleeding ,Cardiac arrest ซึ่งตองทําการชวยเหลือดวย

    การทํา Resternotomyพบวา ในปงบประมาณ 2559 มีผูปวย 1 ราย เกิดภาวะ External
      bleeding ตองเปด Resternotomy in icuแตเนื่องจากยังไมมีอุปกรณเครื่องมิอ ตอง

    ประสานทีมหองผาตัด ทําใหลาชา ซึ่งเหตุการณในครั้งนั้น ทางทีมไดนํามาทบทวน

    และหาแนวทางเพื่อใหสามารถชวยเหลือผูปวยไดทันทวงที

                                                                                  ตําแหนงการยืนและการวางอุปกรณตางๆ



      การดําเนินงาน                                                                   การแบงหนาที่
    1.ประชุมปรึกษา รวมกันเพื่อคนหาปญหาและอุปสรรคที่พบขณะ
      ปฏิบัติงาน                                                   1.  RN 1 Team Leader ติดตอประสานงานทีม

     2.จัดทํา Gift Set  box “Emergency Resternotomy Set” และแนวทางปฏิบัติ  2.  RN 2 Bedside nurseเตรียมอุปกรณ และเครื่องมือresternotomy
      รวมกับทีม                                                      พรอมทั้งชวยแพทย

      3.ทบทวนแนวทางปฏิบัติ และปรับปรุงในสวนที่ยังเปนปญหา        3.  RN 3 Documenttation nurseMedication, Fluid, Blood products

      4.สรุปผลการดําเนินงาน                                           Monitor and recorder

                                                                   4.  NAชวยเตรียมอุปกรณที่จําเปนตองใช เชน ชุด suction, น้ํายาตางๆไฟ

     Gift Set  box “Emergency Resternotomy Set”                       สองสวาง , สารน้ําตางที่จําเปน

      ประกอบดวย                                                                           ่
      1.ดามมีดพรอมใบมีด

      2.ที่ตัดลวด (wire cutter)
    3. Sternal retractor
      4.Artery clamp,กรรไกรตัดไหม                                              ผลการดําเนินงาน

     4.Internaldefibrilation                                           เปรียบเทียบผลการดําเนินงานกอน-หลัง

     5.อุปกรณปองกันตาง                           ลําดับ                หัวขอ                    กอน        หลัง
      6.ชุดอุปกรณsuction sterile                    1.    ความพรอมอุปกรณเครื่องมือและทีม ICU     10 %        90%

      7.ผาsterileขนาดใหญ                           2.    ระยะเวลาที่สามารถเปดResternotomy at ward   10-15 นาที  ภายใน 5 นาที

                                                     3.    อัตราการรอดชีวิตหลังทํา Resternoyomy     0%         100%

                                                     4.    ความพึงพอใจของผูรับบริการ ในดานความ  ไมไดเก็บ   100%
                                                           รวดเร็วในการชวยชีวิต                   ขอมูล








                                                                  แนวทางพัฒนาตอไป

                                                                  1.จัดทํารถลิ้นชักลอเลื่อน เพื่อจัดเก็บอุปกรณและสะดวกในการ
                                                                  เคลื่อนยาย

                                                                  2.จัดทํา.flow การประสานงานกับทีมผาตัดหลังเปด resternotomy in
                                                                  ICU CVTเพื่อสงหองผาตัด
                                                                  3.การพัฒนาความรูและทักษะการทํา ACLS ในผูปวยผาตัดหัวใจ
                                                                  แบบเปด
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16