Page 205 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 205

ชื่อเรื่อง (ภาษาไทย)                การพัฒนาวงจรการให้น้้ายารักษาสภาพ

                   กล้ามเนื้อหัวใจชนิดคริสตอลลอยด์


                   ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ)  Trang Hospital Crystalloid

                   Cardioplegia Circuit

                   ผู้ร่วมวิจัย                 นางสาวทัศน์สกุล แจ้งเล็ก นักเทคโนโลยีหัวใจ

                                        และทรวงอกปฏิบัติการ
                                                นางสาวพัชรินทร์ ยะสาร นักเทคโนโลยีหัวใจ

                                        และทรวงอกปฏิบัติการ

                                                นายภานุวัตร หลวงหล้า นักเทคโนโลยีหัวใจ

                                        และทรวงอกปฏิบัติการ

                   ผู้น้าเสนอ                   นายภานุวัตร หลวงหล้า นักเทคโนโลยีหัวใจ

                                        และทรวงอกปฏิบัติการ
                   หลักการและเหตุผล

                           ในผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมีความจ้าเป็นต้องให้น้้ายารักษา


                   สภาพกล้ามเนื้อหัวใจ (Cardioplegia) เพื่อป้องกันภาวะกล้ามเนื้อ

                   หัวใจตายจากการผ่าตัด โดยปกติใช้เป็นชนิด Blood  cardioplegia

                   โดยให้ทุกๆ 20-25 นาที แต่ส้าหรับผู้ป่วยบางรายที่หัตถการใช้
                   เวลานานศัลยแพทย์และนักเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก จะปรึกษา


                   และพิจารณาร่วมกันเพื่อให้ HTK  –  Bretschneider  ซึ่งเป็นน้้ายา

                   Cardioplegia ชนิด Crystalloid ที่สามารถหยุดหัวใจได้นานประมาณ

                   180 นาทีต่อการให้ 1ครั้ง ท้าให้รบกวนการผ่าตัดของศัลยแพทย์


                   ลดลง  การบริหารยาชนิดนี้โดยทั่วไปแล้วจะให้โดยใช้  Hydrostatic

                   pressure  จากแรงโน้มถ่วงของโลกโดยปรับความสูงขณะเริ่มให้ควร

                   อยู่เหนือระดับหัวใจ 100-140 เซนติเมตร (หรือให้เทียบเท่า 100
                   มิลลิเมตรปรอท) และหลังจากหัวใจหยุดเต้นต้องปรับลดความสูงระดับ

                   ขวดยาลงมาเป็น 50-70 เซนติเมตร (หรือให้เทียบเท่า 40-50

                   มิลลิเมตรปรอท) แต่การบริหารยาโดยวิธีนี้ไม่สามารถควบคุมแรงดัน
                   ปริมาณการไหลของน้้ายา ระยะเวลาที่ก้าหนด และอุณหภูมิขณะให้

                   ปัจจัยข้างต้นจะส่งผลให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายและอาจท้าให้

                   หัวใจของผู้ป่วยกลับมาเต้นได้ไม่ดีหลังการผ่าตัด ทางทีมนัก
                   เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกโรงพยาบาลตรังจึงปรับปรุงวงจรการให้


                   น้้ายา Cardioplegia แบบเดิมเป็นแบบใหม่โดยเป็นการให้ผ่านเครื่อง
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210