Page 120 - DDD4
P. 120
112
บทที่ 8 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ปัจจุบันที่สังคมเป็นสังคมบริโภคนิยมการอนุรักษ์และส่งเสริมคุณภาพพลังงาน
และสิ่งแวดล้อมโดยการให้ความรู้สร้างความตระหนักและรณรงค์ให้ประชาชนช่วยกันรักษา
สิ่งแวดล้อมเท่านั้นไม่เพียงพอจ าเป็นจะต้องใช้ระเบียบและกฎหมายในการส่งเสริมคุณภาพ
พลังงานและสิ่งแวดล้อมเข้ามาก ากับดูแลเพื่อให้การอนุรักษ์และส่งเสริมคุณภาพพลังงานและ
สิ่งแวดล้อมประสบผลส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนด
8.1 กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการควบคุมมลพิษ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีอยู่มากมายตั้งแต่
ประมาณปีพศ 2564 มาจนถึงปัจจุบันซึ่งล้วนมีความส าคัญต่ออนุรักษ์และส่งเสริมคุณภาพ
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้นเช่นพระราชบัญญัติการรักษาช้างป่าพระราชบัญญัติการ
รักษาพันธุ์พืชพระราชบัญญัติป่าไม้พระราชบัญญัติการประมงพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่ าพระราชบัญญัติป่ าสงวนแห่งชาติพระราชบัญญัติวัตถุมีพิษและ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติซึ่งเป็นกฎหมายสิ่งแวดล้อม
ฉบับแรกพระราชบัญญัติในทุกปีพุทธศักราช 2518 แต่เมื่อเวลาผ่านไปพระราชบัญญัติดังกล่าว
ไม่สามารถควบคุมและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้ครอบคลุมจึงได้มีการออกพระราชบัญญัติ
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพุทธศักราช 2535 ขึ้น
8.1.1 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ. ศ. 2535 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 3 เมษายน 2535 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและเจ้าหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประชาชนและองค์กรภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยให้มีการ
จัดการท านโยบายและแผนงานในการลดและป้องกันปัญหามลพิษรวมทั้งก าหนดหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขที่จะเป็นการจัดการมลพิษมีออกประกาศและข้อก าหนดต่างๆเช่นมาตรฐาน
ระดับเสียงรถยนต์มาตรฐานค่าควันด าและค่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่นิยมให้ระบบจากท่อ
ไอเสียรถยนต์มาตรฐานควบคุมการระบายน ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาดประกาศ
ประเภทของอาคารพื้นที่แหล่งก าเนิดมลพิษที่จะถูกควบคุมการปล่อยน ้าเสียลงสู่แหล่งน ้า
สาธารณะหรือออกสู่สิ่งแวดล้อมการประกาศเขตควบคุมมลพิษมาตรฐานคุณภาพน ้าทะเลใช้
ฝันมาตรฐานคุณภาพน ้าในแหล่งผิวดินโดยเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก าเนิดมลพิษหน้าที่
ต้องรับผิดชอบซึ่งปรากฏในบทก าหนดโทษในกรณีมีผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม