Page 132 - DDD4
P. 132
124
(14) เก้งหม้อ หรือเก้งด า
เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่จ าพวกกวางมีลักษณะคล้ายเก้งธรรมดาแตกต่างกัน
ตรงเก้งหม้อจะมีคนบริเวณล าตัวที่เข้มกว่าใบหน้ามีสีน ้าตาลเข้มมีเส้นสีด าลากจากโคนเขามา
จนถึงหัวตาดูเป็นรูปตัววีใบหูไม่มีขนไม่มีต่อมน ้าตาใหญ่ยาวปลายด้านชี้ไปที่ลูกตาขอบนูนสูง
บริเวณกระหม่อมและโคนขามีสีเหลืองสดด้านล่างของล าตัวมีสีน ้าตาลเข้มอมเหลืองเส้นหลัง
เข้มกว่าที่อื่นๆหน้าท้องสีขาวขาท่อนล่างจนถึงจีบสีด าจนเป็นที่มาของอีกชื่อหนึ่งว่าเก่งด า
ด้านหน้าและด้านหลังมีสีขาวเห็นได้ชัดเจนหารสั้นหางด้านบนสีด าใต้หางสีขาวมีเขาเฉพาะตัว
ผู้เขาขอเก้งหม้อจะสั้นกว่าเก้งธรรมดาเข้าใจละข้างมี 2 กิ่งกิ่งหน้าสั้นกว่ากิ่งหลังคนเขามีขนด า
หนาคุมรอบระหว่างคนเขามีขนสีเหลืองเป็นกระจุกจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อว่ากวางเขาจุกวัดเขาปีละ
1 ครั้งมีความยาวล าตัวและหัว 88 เซนติเมตร ความยาวหาง 23 เซนติเมตรน ้าหนักประมาณ 18-
21 กิโลกรัม เก้งหม้อตัวผู้มีเขี้ยวอย่าไว้ต่อสู้เขียวโค้งออกแบบหน้าเช่นเดียวกับเก้งทั่วไป
(15) พะยูน
เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535
เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดเดียวที่เป็นสัตว์น ้าพะยูนเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเล
อบอุ่นรูปร่างคล้ายปลาโลมาแต่อ้วนป่ องกว่าเล็กน้อยผิวหนังเรียบลื่นสีเทาแต่เมื่อแก่จะ
เปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐและมีด่างขาวขาหน้าคล้ายใบพายใช้ส าหรับการช่วยบังคับทิศทางหรือเดิน
บนพื้นทะเลขาหลังรถลูกจนหายไปหมดเหลือเพียงกระดูกชิ้นเล็กๆอยู่ภายในล าตัวส่วนท้าย
เป็นที่สองแฉกวางแนวระนาบขายหางโรเบทมาใช้โบกขึ้นลงเพื่อการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
คาดว่าบรรพบุรุษของพะยูนเคยอาศัยอยู่บนบกแต่เริ่มวิวัฒนาการลงไปอาศัยอยู่ในน ้าตั้งแต่เมื่อ
ประมาณ 60 ล้านปีก่อนท าให้พะยูนมีการวิวัฒนาการรูปร่างให้เหมาะกับการอาศัยอยู่ในน ้า
พะยูนจะมีรูปร่างภายนอกคล้ายโลมาแตกพะยูนกับมีวิวัฒนาการมาสายเดียวกับช้าง
ลักษณะร่วมกับสถานที่เด่นชัดอย่างหนึ่งคือมีเต้านมอยู่บริเวณข้างหน้าเหมือนกัน
ประยูรหายใจด้วยปอดเช่นเดียวกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆรูจมูกอยู่ด้านบนเพื่อให้ขึ้นมา