Page 85 - DDD4
P. 85

77





           ระบายความร้อนของเครื่องท าความเย็นหรือเครื่องปรับอากาศโดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยน

           ความร้อนเพื่อลดขนาดพื้นที่แผงรับรังสีความร้อนและที่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีค่าแรงเป็น

           การลดปริมาณพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานเชิงพาณิชย์ในการผลิตน ้าร้อนได้อีกด้วย
                  1.2.2) เครื่องอบแห้งด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ปัจจุบันมีการยอมรับใช้งาน 3 ลักษณะคือ

           การอบแห้งระบบพาสชีพ

           เป็นระบบที่เครื่องอบแห้งท างานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที่พัดผ่าน
           การอบแห้งระบบแอคทีพ

           เป็นระบบอบแห้งที่มีเครื่องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ต้องการเช่นมีพัดลมติดตั้งใน

           ระบบเพื่อบังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบพัดลมจะดูดอากาศจากภายนอกให้ไหลผ่าน
           แผงแผงรับแสงอาทิตย์เพื่อความร้อนจากแผงรับแสงอาทิตย์ในอากาศร้อนที่ไหลผ่านพัดลม

           และอบแห้งจะมีความชื้นสัมพันธ์ต ่ากว่าความชื้นของพืชผล

           การอบแห้งแบบไฮบริดจ์เป็นระบบอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์และยังต้องอาศัยพลังงาน
           ในรูปแบบอื่นๆช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม ่าเสมอหรือต้องท าให้ผลิตผลทางการเกษตร

           แห้งเร็วขึ้นเช่นใช้ร่วมกับพลังงานเชื้อเพลิงจากชีวมวลพลังงานไฟฟ้าวัสดุอบแห้งจะได้รับ

           ความร้อนจากอากาศร้อนที่จะผ่านเข้าแผงรับแสงอาทิตย์และการหมุนเวียนของอากาศจะอาศัย

           พัดลมหรือเครื่องดูดอากาศช่วย
              2) พลังงานลม

                ลมเป็นพลังงานรูปหนึ่ง ซึ่งเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิความกดดันของบรรยากาศ

           และแรงจากการหมุนของโลกด้วยความเร็วลมจะก าลังลมขึ้นอยู่กับปัจจัยดังกล่าวเนื่องจากลม
           เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม

           และสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างไม่รู้จักหมดสิ้นจึงมีการสร้างกังหันลมเพื่อ

           พลังงานมาใช้ประโยชน์
           กังหันลม คือ เครื่องจักรกลที่ท าหน้าที่รับงานจลน์จากการเคลื่อนที่ของลมและเปลี่ยนให้เป็น

           พลังงานกลจากนั้นน าพลังงานกลมาใช้ประโยชน์โดยตรงเช่นการบดสีเม็ดพืช

           การวิดน ้าหรือใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า การพัฒนากังหันลมเพื่อใช้ประโยชน์มีตั้งแต่สมัยอียิปต์
           โบราณจนถึงปัจจุบันโดยการออกแบบกังหันลมจะต้องอาศัยความรู้ทางด้านผลขาดของลมและ

           หลักวิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่างๆเพื่อให้ได้ก าลังงานพลังงานและประสิทธิภาพสูงสุดกังหัน

           ลมแบ่งออกตามลักษณะจัดวางแกนของใบพัดได้ 2 รูปแบบคือ
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90