Page 51 - DDD4
P. 51
43
3.4.4 ความเชื่อและค่านิยมที่ไม่เหมาะสม
ความเชื่อและค่านิยมแบบอย่าง ส่งผลให้เกิดการท าสิ่งแวดล้อมเพื่อตอบสนองความ
เชื่อและค่านิยมนั้นเช่นการนิยมความฟุ่มเฟือยหรูหรามีระดับความมักง่ายและความประมาท
ชอบเป็นเอกเทศและความเป็นอิสระชื่นชอบสิ่งประดิษฐ์ที่มาก าความอยากได้ธรรมชาติเป็น
สมบัติส่วนตัวเป็นต้น
3.5 ปัญหาการสูญเปล่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การสูญเปล่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักการอนุรักษ์เกิดขึ้นได้ 2
กรณีคือขั้นผลิตและขั้นบริโภค
แบ่งได้เป็น
3.5.1 การสูญเสียป่าแบบสมบูรณ์
ได้แก่การสูญเปล่าที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคืนเช่นการพังทลายดินจากลมและน ้า
3.5.2 การสูญเปล่าแบบเพิ่มพูน
เป็นกระบวนการสูญเปล่าที่รุนแรงคือนอกจากสูญเสียทรัพยากรต่างๆแบบสมบูรณ์แล้วยังมีผล
ท าให้กิ่งหรือขบวนการอื่นๆสูญเปล่าไปด้วยเช่นการเกิดไฟป่าท าลายต้นไม้ในป่าและยาสูญเสีย
ปริมาณสัตว์ป่าสูญเสียดินและอื่นๆ
3.5.3 การสูญเปล่าแบบสัมพันธ์
ได้แก่การสูญเสียที่เกิดจากการแสวงหาสิ่งหนึ่งแต่ท าให้เกิดผลเสียอีกอย่างหนึ่งเช่นการท า
เหมือนแร่อาจท าให้เกิดการท าลายพืชพรรณธรรมชาติท าให้น ้าในล าธารขุ่นการเก็บของป่าอาจ
ต้องท าลายหรือตัดฟันต้นไม้เพื่อได้มาซึ่งผลผลิตจากป่าเช่นน ้าผึ้งสมุนไพรกล้วยไม้ป่าเป็นต้น
3.5.4 การสูญเปล่าแบบตั้งใจ
ได้แก่การท าให้เกิดการสูญเปล่าโดยตั้งใจจะจัดการกับบางอย่างเพื่อรักษาราคาหรือค่าทาง
เศรษฐกิจของทรัพยากรธรรมชาติหรืออุตสาหกรรมไว้ให้ดีที่สุดเช่นการที่ประเทศบราซิล
ยอมรับทิ้งกาแฟลงในทะเลผลิตมากเกินไปจ าเป็นต้องรักษาราคากาแฟให้เป็นไปตามต้องการ
การเผาใบยาสูบทิ้งเพราะผลิตมากเกินไปการน าแอปเปิลเท
ถนนให้รถบรรทุกบดท าลายเนื่องจากมีผลผลิตล้นตลาดเป็นต้น
3.6 ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรหลักที่มนุษย์ได้น ามาใช้ประโยชน์
มนุษย์ มีความต้องการปัจจัยพื้นฐานส าหรับการด ารงชีวิตเพิ่มมากขึ้นเป็นล าดับในขณะที่
ความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการด ารงชีวิตเพิ่มมากขึ้นแต่ทรัพยากรที่สามารถสนองความ
ต้องการนั้นอยู่ในสภาวะคงที่และหลายอย่างลดลงบางอย่างสูญพันธุ์หรือหมดไปและที่ผ่านมา
มนุษย์พยายามตักตวงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างฟุ่มเฟือย