Page 78 - หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน
P. 78
78 | ห น า
1.5 คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน ขันตักน้ํา นกเขาขัน
หัวเราะขบขัน
1.6 มีรูปวรรณยุกตกํากับเสียง ทั้งที่ปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป เชน นอน
(เสียงสามัญ ไมปรากฏรูป) คา (เสียงตรี ปรากฏรูปไมโท)
1.7 คําที่ออกเสียง ไอ จะใชไมมวน ซึ่งมีอยู 20 คํา นอกนั้นใชไมมลาย
ผูใหญหาผาใหม ใหสะใภใชคลองคอ
ใฝใจเอาใสหอ มิหลงใหลใครขอดู
จะใครลงเรือใบ ดูน้ําใสและปลาบู
สิ่งใดอยูในตู มิใชอยูใตตั่งเตียง
บาใบถือใยบัว หูตามัวมาใกลเคียง
เลาทองอยาละเลี่ยง ยี่สิบมวนจําจงดี
2. ลักษณะของคําภาษาถิ่น
ภาษาถิ่น หมายถึง คําที่ใชในทองถิ่นตางๆ ของประเทศไทยที่มีลักษณะแตกตางจาก
ภาษากลาง เชน ภาษาถิ่นใต ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นเหนือ ซึ่งภาษาถิ่นเหลานี้เปนภาษาที่ใชกัน
เฉพาะคนในถิ่นนั้น
ตัวอยาง เปรียบเทียบภาษากลาง และภาษาถิ่น
ภาษากลาง ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถิ่นใต
พูด อู เวา แหลง
มะละกอ มะกวยเตด หมากหุง ลอกอ
อรอย ลํา แซบ หรอย
สับปะรด มะขะนัด หมากนัด ยานัด
ผม/ฉัน ขาเจา เฮา ขอย ฉาน
3. ลักษณะของคําภาษาถิ่นตางประเทศที่ปรากฏในภาษาไทย