Page 6 - ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
P. 6

พื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยยา









                        สถาบันราชภัฏอยุธยยา ปัจจุบันตั้งอยู่ ต าบลประตูชัย อ าเภอพระนครศรีอยุธยยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยยา พื้น

          ที่ตั้งของสถาบันราชภัฎพระนครศรีอยุธยยา  เดิมในสมัยอยุธยยา เรียกว่า ย่านป่าตอง ย่านป่าตองนี้ตั้งอยู่ริมสองฟากของ

          ถนนป่าตอง ซึ่งเป็นถนนหลวง ตั้งอยู่กลางพระนครในแนวเหนือ- ใต้ ถนนป่าตอง สมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม

          เป็นนายกรัฐมนตรีได้มอบให้กรมโยธยาเทศบาลซ่อมถนนสายนี้และเปลี่ยนชื่อเป็น ถนนศรีสรรเพชญ์ส าหรับย่านป่าตอง

          ในกฎมนเฑียรบาลได้แบ่งแขวงในก าแพงพระนครออกเป็น 4 แขวง โดยถือเอาตะแลงแกงเป็นจุดศูนย์กลาง แขวงขุนธยรณี

          บาล , แขวงขุนโลกบาล , แขวงขุนนรบาล , แขวงขุนธยราบาล ส าหรับแขวงขุนธยราบาลนี้ ครอบคลุมย่านป่าตองด้วยจึงเป็น

          แขวงส าคัญ ดังปรากฎในธยรมเนียมราชส านักในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศว่า เวลาที่พระองค์มิได้ประทับอยู่ในพระบรม

          ราชวัง ให้แขวงนี้อยู่ในความดูแลของขุนโกชาอิศ เพราะป็นย่านชุมชนแออัด มีพ่อค้าแขกตั้งบ้านเรือนอยู่มาก และเป็น

          ย่านเศรษฐกิจการคัลงที่ส าคัญของอยุธยยา เป็นที่ตั้งของพระคลังสินค้า ซึ่งมีหน้าที่เก็บรักษาส่วยอากร ผูกขาดการค้ากับ

          ต่างประเทศ และเป็นที่อยู่อาศัยของพวกกรมท่าขวา ซึ่งมีจุฬาราชมนตรีเป็นผู้ดูแล ย่านป่าตองจึงเป็นที่ตั้งของชุมชนแขก

          มุสลิมที่ส าคัญ ในบริเวณที่เรียกว่า  บ้านท่ากายี  ซึ่งเป็นท่าใหญ่ส าหรับขนถ่ายสินค้าของพวกมุสลิมที่เข้ามาค้าขาย ในกรุง

          ศรีอยุธยยา และในสถาบันราชภัฎพระนครศรีอยุธยยา จะมีสุสาน (กุโบร์) ของท่านฉกอะหมัด ปฐมจุฬาราชมนตรี












                                                                                                                                       6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10