Page 10 - โครงการ2019_Neat
P. 10

5






                                           บทที่ 1  ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตั๋วเงิน


                     บทน ำ



                            ตั๋วเงินเป็นสัญญำอย่ำงหนึ่งที่ท ำไว้เป็นหนังสือหรือตรำสำรที่ใช้แสดงกำรเป็นหนี้

                     ตั๋วเงินตำม ควำมหมำยของประมวลกฎหมำยแพงและพำณิชย์ 9 ของไทย จ ำแนกเป็น ตั๋ว

                     สัญญำใช้เงิน ตั๋วแลกเงิน และเช็ค ส ำหรับควำมหมำยของตั๋วเงินทำงบัญชี จ ำแนกเป็น ตั๋ว


                     เงินรับ และตั๋วเงินจ่ำย ซึ่งแตกต่ำง กันตำมสภำพของลูกหนี้และเจ้ำหนี้


                           1. ควำมหมำยของตั๋วเงิน (Note)



                           ตำมประมวลกฎหมำยแพงและพำณิชย์ 9 มำตรำ 898 อันตั๋วเงินตำมควำมหมำยแหง

                     ประมวลกฎหมำยนี้มีสำมประเภท  ประเภทหนึ่งคือ ตั๋วแลกเงิน ประเภทหนึ่งคือ ตั๋วสัญญำ

                     ใช้เงิน ประเภทหนึ่งคือ เช็ค จำกควำมหมำยดังกลำวสรุปลักษณะของตั๋วเงินได้ดังนี้



                            1.1  เป็นสัญญำอย่ำงหนึ่ง โดยใช้กฎหมำยเกี่ยวกับกำรท ำนิติกรรมต่ำง ๆ มำใช้

                     บังคับโดย อนุโลม ยกเวนบำงรำยกำรที่มีกฎหมำยเกี่ยวกับตั๋วเงินบัญญัติไว้โดยเฉพำะ


                            1.2 เป็นหนังสือตรำสำร ที่มีข้อควำมหรือรำยกำรที่กฎหมำยก ำหนดไว้ครบถ้วนจึง

                     จะ สมบูรณ์ 9



                            1.3 สำมำรถโอนเปลี่ยนมือได้ ด้วยกำรสงมอบหรือสลักหลังโดยไม่ต้องมีกำรบอก

                     กล่ำว เกี่ยวกับกำรโอนตั๋วเงินนี้แก้ลูกหนี้แต่อย่ำงใด


                            1.4  มีวัตถุแห่งหนี้เป็นเงินตรำ คือ เงิน เท่ำนั้น จะเป้นสินทรัพย์ อย่ำงอื่นไม่ได้ วัตถุ


                     แห่งหนี้นี้  หมำยถึง ขอตกลงที่ลูกหนี้จะตองปฏิบัติต่อเจ้ำหนี้เกี่ยวกับกำรช ำระหนี้  ในทำง

                     บัญชี ตั๋วเงิน หมำยถึง เอกสำรหรือหลักฐำนที่แสดงกำรเป็นหนี้ ระหวำงลูกหนี้และ เจ้ำหนี้

                     ในวงกำรธุรกิจทั่วไปจะใช่ตั๋วเงินเพื่อช ำระหนี้ เมื่อมีกำรซื้อขำยสินค้ำหรือบริกำรเป็นเงิน


                     เชื่อ กูยืมเงินจำกธนำคำร กำรซื้อขำยสินค้ำระหว่ำงประเทศ รวมทั้งกำรขอผัดผ่อนกำร

                     ช ำระหนี้ที่ถึง ก ำหนดช ำระ ดังนั้น ตั๋วเงิน หมำยถึง เอกสำรหรือหลักฐำนที่แสดงกำรเป็น
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15