Page 4 - E-BOOK 6
P. 4

ประวัติความเป็นมาของชุมชน


               ชุมชนสวนพลูนั้นมิได้มีประวัติการจัดตั้งที่แน่ชัด จากการสัมภาษณ์ประธานชุมชน

        นายมุฮำาหมัด  หวังพฤกษ์  ประธานชุมชนคนปัจจุบันนั้นทราบว่า  ชุมชนสวนพลูนั้นเป็นชาว


        ไทยมุสลิมที่ได้อพยพมาจากกรุงศรีอยุธยาภาย หลังการเสียกรุงครั้งที่ 2 และภายหลังได้มีชาว

        มุสลิมอพยพมาเพิ่มเติมจากทางหัวเมืองปักษ์ใต้โดยมีตระกูล เก่าแก่คือ “เซ็นติยานนท์” และ

        “รังสิยนนท์”


               พื้นที่เดิมของชุมชนสวนพลูเมื่อครั้งอดีตนั้นเป็นพื้นที่สำาหรับปลูกพลู  คนในชุมชนทำา

        อาชีพปลูกพลู จึงเป็น ที่มาของชื่อชุมชน “สวนพลู” เมื่อผลผลิตได้ที่แล้วจึงล่องเรือไปขายยัง

        ตลาดพลู นอกจากชื่อชุมชนสวนพลู แล้วยังมีชื่ออื่นคือ “ในสวน” อันหมายถึงผู้ที่อาศัยอยู่ใน

        บริเวณที่ทำาสวนพลูปัจจุบันผู้อาศัยในชุมชนส่วน มากเป็นประชากรแฝง อันมีที่มาจากการเข้า


        มาเช่าอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เป็นห้องแถวไม้ หรือบ้านเช่าเสียเป็น ส่วนใหญ่ ส่วนประชากรเดิมเมื่อ

        เวลาผ่านไปทำาให้มีการอพยพย้ายถิ่นฐานออกไปจึงหลงเหลือประชากรเดิม อยู่ไม่มากนัก











                                                                                                                               ที่ตั้งและลักษณ์ทางกายภาพ



                                                                                                                                      ชุมชนสวนพลูตั้งอยู่ที่ ซอยริมทางรถไฟ 5 ถนนริมทางรถไฟ แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี

                                                                                                                               กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ทั้งหมด 37 ไร่ ประกอบไปด้วยห้องแถวละบ้านพักเป็นชุมชนแออัด

                                                                                                                               แต่ยังพอมีพื้นที่สำาหรับการจอดรถส่วนบุคคลและพื้นที่สำาหรับประกอบกิจกรรมสาธารณะ





                                                                                                                               อาณาเขตของชุมชนทิศเหนือ


                                                                                                                                      จรด  7-11  สถานีรถไฟสายมหาชัยทิศใต้  จรดซอยเทอดไท  19  ทิศตะวันออก  ติดกับ

                                                                                                                               ชุมชนตากสินสัมพันธ์  โดยมีลำาลางสาธารณะแบ่งกันอาณาเขตทิศตะวันตก  มีแนวเส้นทาง


                                                                                                                               รถไฟสายมหาชัยเป็นเส้นแบ่งเขต











        4                                                                                                                                                                                                                             5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9