Page 36 - Buddhist
P. 36

32

                                                               กรอบที่  25



                                                สรุปวันส ำคัญทำงพระพุทธศำสนำ

                         วันส ำคัญที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้ำ
                                ประสูติ  วันเพ็ญ  เดือน 6   ณ   ลุมพินีวัน ระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์-กรุงเทวทหะ

                                ตรัสรู้    วันเพ็ญ เดือน 6   ณ    อุรุเวลาเสนานิคม  แคว้นมคธ

                                ปฐมเทศนา  วันเพ็ญ เดือน 8   ณ   ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน  กรุงพาราณสี

                                ปรินิพพาน  วันเพ็ญ เดือน 6   ณ   สาลวโนทยาน  แคว้นมัลละ  กรุงกุสินารา























                         เสาหินพระเจ ้าอโศกมหาราชปักไว ้            วิหารตรัสรู้ ที่ยังหลงเหลืออยู่สมบูรณ์ที่สุดปัจจุบัน
                         เพื่อให ้อนุชนรุ่นหลังทราบว่าตรงจุดนี้                      สถานที่ตรัสรู้นี้เรียกว่า ต าบลพุทธคยา ขึ้นอยู่กับ
                             เป็นที่ที่พระบรมศาสดาออกจากครรภ์       จังหวัดคยา (ห่างจากจังหวัด 12 กิโลเมตร)รัฐพิหาร
                             ของพระมารดา  (ปัจจุบันอยู่ในเขต        มีเมืองหลวงชื่อ ปัฎนะ หรือ ปัฎนา (หรือชื่อเดิมว่า
                         ประเทศเนปาล)                               ปาฎลีบุตร)





















                         สถานที่พระศาสดาประกาศพระพุทธ                       สถูปและวิหารปรินิพพานที่เมืองกุสินารา
                         ศาสนาเป็นครั้งแรก ปัจจุบันเรียก                    ปัจจุบันมีสถูปและวิหารเป็นสัญลักษณ์เป็น
                         สารนาถและเป็นสถานที่ที่พระสัมมา                    อุทยานที่ได ้รับการรักษาจากทางการ
                         สัมพุทธเจ ้าปรารภให ้พระอรหันต์ 60 รูป             อินเดียเป็นอย่างดี มีต ้นสาละและไม ้อื่น
                         ออกไปเผยแผ่พระศาสนา                                   ปลูกอยู่ทั่วไป ให ้ความร่มรื่นพอสมควร
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41