Page 230 - Liver Diseases in Children
P. 230

220      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
                    ิ
            จุลพยาธวทยาของตับไม่พบการอักเสบ ควรหยุด  การตรวจจุลพยาธิวิทยาของตับพบ interface hepatitis
                   ิ
            ยาสเตียรอยด์ก่อนแล้วจึงค่อย ๆ ลดและหยุดยา  และ multilobular collapse ร่วมกับการตรวจเลือด
                                           �
            azathioprine โอกาสในการหยุดยาได้สาเร็จประมาณ  พบค่าเอนไซม์ aminotransferases, IgG สูง และ
            ร้อยละ 20-40                                  ตรวจพบ autoantibodies อาจพบการย้อมติด atypical
                 - หลังหยุดยากดภูมิคุ้มกัน ควรตรวจติดตาม  anti-LKM-1 ที่หลอดไตฝอย (renal tubule) แต่ไม่
            ค่า AST, ALT, IgG และ autoantibodies ทุก 3  พบที่ตับ

            เดือนเป็นเวลานานอย่างน้อย 5 ปี                     การรักษา คือ ให้เพรดนิโซโลนและ azathioprine
                 - การปลูกถ่ายตับเป็นการรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะ  ในขนาดยาเหมือนกับการรักษา classical AIH ร่วม
            ตับวายเฉียบพลันหรือไม่ตอบสนองต่อยากด          กับลดขนาดยา  calcineurin  inhibitor  (CNI)

            ภูมิคุ้มกัน อย่างไรก็ตาม พบอัตราการกลับมีอาการ  เน่องจากยา CNI อาจท�าให้ maturation ของ T-cells
                                                            ื

            โรคหลังปลูกถ่ายตับสูง  โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรค  และการท�างานของ regulatory T-cells (T-regs)
                        ื
            ASC ดังนั้นเพ่อลดอัตราการกลับมีอาการโรคควรให้   ผิดปกติ มีการกระตุ้น auto-aggressive T-cell
                                                     ่
            azathioprine หรือ MMF ร่วมกับสเตียรอยด์ขนาดต�า  clones ส่งผลให้เกิดตับอักเสบ
            (ขนาดสูงสุด 5 มก./วัน) หลังปลูกถ่ายตับ
                                                          สรุป
            โรคตับอักเสบจำกภูมิต้ำนทำนตนเองท          ี ่      ควรนึกถงโรคภูมิต้านทานต่อตับตนเองด้วย
                                                                       ึ
            เกิดขึ้นหลังปลูกถ่ำยตับ (de novo AIH          เสมอในเด็กโตที่มีค่าเอนไซม์ตับผิดปกติ การรักษา
            after liver transplantation, d-AIH)      10   อย่างเหมาะสมด้วยยากดภูมิคุ้มกันช่วยท�าให้ผู้ป่วย

                                                                                                    ้
                                                                                                    �
                 ผู้ป่วยเด็กที่รับการปลูกถ่ายตับด้วยสาเหตุอื่น  ส่วนใหญ่มีสุขภาพดีและมีชีวิตยืนยาว ควรเน้นยา
            ที่ไม่ใช่ AILD อาจเกิด d-AIH ได้ภายหลังการปลูก  ผู้ป่วยถึงความสาคัญของการกินยากดภูมิคุ้มกัน
                                                                         �
                                  ่
                             ู
            ถายตับ  โดยพบในผ้ป่วยทีไม่ได้สเตียรอยด์บ่อยกว่า  ตามคาแนะนาของแพทย์  การพยากรณ์โรคของ
                                                                      �
             ่
                  16
                                                               �
            ผู้ป่วยที่กินยากดภูมิคุ้มกันสูตรที่มีสเตียรอยด์ในการ  ASC ไม่ดี ผู้ป่วยมักต้องได้รับการปลูกถ่ายตับ รวม
            ป้องกันการปฏิเสธตับ (rejection) 17,18         ทั้งมีโอกาสเป็นโรคเดิมอีก (recurrence) ภายหลัง
                 ลักษณะของโรค d-AIH คล้ายกับ AIH คือ  การปลูกถ่ายตับ

            เอกสำรอ้ำงอิง

            1.  Mieli-Vergani G, Vergani D. Autoimmune liver disease. In: Kelly DA, editor. Diseases of the liver and
                                      th
               biliary system in children. 4  ed. West Sussex: John Wiley & Sons Ltd; 2017. p. 155-68.
            2.  Mieli-Vergani G, Vergani D.  Autoimmune hepatitis. Nat Rev Gastroenterol Hepatol 2011;8:320-9.
            3.  Gregorio GV, Portmann B, Karani J, Harrison P, Donaldson PT, Vergani D, et al.  Autoimmune

               hepatitis/sclerosing cholangitis overlap syndrome in childhood: a 16-year prospective study. Hepatology
               2001;33:544-53.
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235