Page 269 - Liver Diseases in Children
P. 269

ตับวายเฉียบพลัน    259




             INR เท่ากับ 4.5 และ 7.5 ตามล�าดับ นอกจากนี้กลุ่ม  genome และ whole-exome sequencing มีประโยชน์

               ิ
                  ้
              ่
              ี
                        ี
                              ี
                  ื
                        ่
             ทตดเชอเดงกมีค่าเฉล่ย aspartate aminotransferase  ช่วยวินิจฉัยความผิดปกติของยีนที่อาจเป็นสาเหตุ
                                                                                      ั
                                                                 ิ
             (7,524 ยูนิต/ลิตร) สูงกว่า alanine aminotransferase  ท�าให้เกดตับวายเฉียบพลัน แต่ยงมีค่าใช้จ่ายสูงและ
             (3,049 ยูนิต/ลิตร) อย่างมีนัยส�าคัญ           ตรวจได้ในเฉพาะบางสถาบัน
                                   ื
                  การตรวจจาเพาะเพ่อหาสาเหตุของตับวาย            การเจาะเน้อตับ (liver biopsy) ไม่มีความ
                           �
                                                                          ื
             เฉียบพลันแสดงในตารางที่ 14.5 ควรเลือกส่งตรวจ  จ�าเป็นและเส่ยงต่อเลือดออกรุนแรง  เนื่องจาก
                                                                       ี
             โดยพิจารณาตามโรคที่พบบ่อยตามอายุของผู้ป่วย  ผู้ป่วยมักมีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ  การท�า
             ส่วนลักษณะทางคลินิกและการตรวจทางห้องปฏิบัติ   transjugular biopsy อาจช่วยลดโอกาสเลือดออก
             การของโรคที่เป็นสาเหตุของตับวายเฉียบพลันใน    จึงอาจตรวจในรายที่สงสัยโรคที่มีการรักษาจ�าเพาะ
             ทารกแรกเกดแสดงในตารางท 14.6 ควรท�าการตรวจ     เช่น โรควิลสันหรือภูมิต้านทานต่อตับตนเอง
                       ิ
                                     ่
                                     ี
                                                  ื
             หาสาเหตุของตับวายเฉียบพลันให้เร็วที่สุด  เน่องจาก
             การรักษาจ�าเพาะในบางโรคอาจช่วยชีวิตผู้ป่วยได้   ภำวะแทรกซ้อน
                                                                                   �
             หรือช่วยในการตัดสินใจรักษาด้วยการปลูกถ่ายตับ       ภาวะตับวายเฉียบพลันทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
                                                           ในร่างกายหลายระบบ ดังแสดงในตารางที่ 14.7
                ัpthaigastro.org
                                                      ื
                  ในปัจจุบันมีการก้าวหน้าของการตรวจค้นเพ่อ
             พยายามให้การวินิจฉัยที่ถูกต้องในผู้ป่วยทีไม่รู้   กำรรักษำ
                                                   ่
             สาเหตุของตับวายเฉียบพลัน เทคนิค metagenomic
             next-generation sequencing (mNGS) ร่วมกับ     กำรรักษำทั่วไป
             การวิเคราะห์ bioinformatics เช่น sequence-based      ถึงแม้ว่าภาวะตับวายเฉียบพลันในเด็กมีสาเหตุ
                                                                              ิ
                                                                                  ิ
                                                                                ี
                                                                                                   ั
                                                                                              ั
                                                                                                   ่
             ultrarapid pathogen identification มีประโยชน์  หลากหลาย แต่มีพยาธสรรวทยาและการรกษาทวไป
             ช่วยในการตรวจวินิจฉัยชนิดของไวรัส การตรวจด้วย  คล้ายคลึงกัน  การรักษาอาศัยการดูแลโดยทีม
                                                                                                     ึ
             mNGS ในผู้ใหญ่ที่มีตับวายเฉียบพลันโดยไม่ทราบ  สหวิชาชีพและติดตามอาการอย่างใกล้ชิด  ซ่ง
             สาเหตุจ�านวน 187 คน พบการติดเชื้อไวรัสในผู้ป่วย  ประกอบด้วยกุมารแพทย์สาขาต่าง ๆ เช่น โรคตับ
             จานวน  8  คนโดยพบเป็น  herpes  simplex   ไต เมแทบอลิก ระบบประสาท เวชบาบัดวิกฤต  และ
                                                                                        �
              �
             virus type 1 ไวรัสตับอักเสบบี parvovirus B19,  ศัลยแพทย์ปลูกถ่ายอวัยวะ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
             cytomegalovirus และ human herpesvirus 7   ป้องกันหรือรักษาภาวะแทรกซ้อนรุนแรงต่าง  ๆ
                                                      12
             ส่วนการตรวจด้วย NGS ในเด็กที่มีตับวายเฉียบพลัน  ดังกล่าวมาแล้ว (ตารางที่ 14.7) ในระหว่างที่รอให้ตับ
             โดยไม่ทราบสาเหตุจ�านวน 14 คน พบการติดเชื้อ    ฟื้นกลับมาปกติได้เองหรือรอการปลูกถ่ายตับ ดังนั้น

             ไวรสในผป่วยจ�านวน 3 คนโดยพบเป็น torque teno  ควรดูแลผู้ป่วยในหอผู้ป่วยวิกฤตเมื่อผู้ป่วยมีอาการ
                    ู้

             virus, adeno-associated virus และ stealth  ทางสมอง หรือตรวจพบ cofactor V activity ต�ากว่า
                                                                                                  ่
                 13
             virus  อย่างไรก็ตามไวรัสที่ตรวจพบอาจไม่ได้เป็น  ร้อยละ 50 ของค่าปกติ prothrombin time activity
             สาเหตุท�าให้เกิดตับวายเฉียบพลัน เทคนิค whole-  ต�่ากว่าร้อยละ 50 ของค่าปกติ INR มากกว่า 1.5
   264   265   266   267   268   269   270   271   272   273   274