Page 10 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 10
3
2.2 เกณฑมาตรฐานทางวิชาการ
2.2.1 เกณฑมาตรฐานทั่วไป
2.2.1.1 มีกรอบแนวคิดที่มีความสมเหตุสมผล (Conceptual Framework)
2.2.1.2 เปนที่ยอมรับของศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา (Accountability)
2.2.1.3 มีความเที่ยงตรง และหรือเชื่อถือได (Validity and/or Reliability)
2.2.2 เกณฑมาตรฐานในการทําวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
2.2.2.1 ควรมีตัวแปรอิสระอยางนอย 2 ตัวแปร
2.2.2.2 ควรมีเครื่องมือหรือวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่เหมาะสม
2.2.2.3 ควรใชสถิติอนุมาน (Inferential Statistics)
2.2.2.4 ควรใชระยะเวลาในการศึกษาไมนอยกวา 2 สัปดาห
2.2.2.5 ควรใชกลุมตัวอยางมีขนาดใหญเพียงพอไดมา โดยการสุมแบบใช Probabi-
listic Techniques
2.2.2.6 กรณีที่มีไมสามารถดําเนินการตามเกณฑ ขอ 2.2.1.1-2.2.2.5 ได ใหอยูใน
ดุลยพินิจของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธและอาจารยที่ปรึกษาการศึกษาคนควาอิสระของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.3 เกณฑมาตรฐานในการทําวิจัยเชิงคุณลักษณะ (Qualitative Research)
2.2.3.1 ประเด็นที่วิจัยมีความเหมาะสมตอการวิจัยเชิงคุณลักษณะ
2.2.3.2 มีกรอบความคิดหรือทฤษฎีหลักในการศึกษาที่เหมาะสม
2.2.3.3 มีระเบียบวิธีการวิจัยเปนที่ยอมรับในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.3.4 มีการตรวจสอบขอมูลที่เชื่อถือได
2.2.3.5 มีการวิเคราะห-สังเคราะห นําไปสูการสรางองคความรูใหม
2.3 เกณฑมาตรฐานในการเขียนรายงานผลการศึกษา
2.3.1 มีรูปแบบการนําเสนอผลการศึกษาที่เหมาะสมและสมเหตุสมผล
2.3.2 มีรูปแบบการเขียนสอดคลองกับขอกําหนดของมหาวิทยาลัย
2.3.3 ใชภาษาที่เหมาะสมและใชคําศัพทถูกตองเชิงวิชาการ
2.3.4 เรียบเรียงเนื้อหาสาระกะทัดรัด ไมซํ้าซอน หรือไมคัดลอกมาจากผลงานของคนอื่น
2.3.5 การนําเสนอผลการศึกษามีความสมบูรณและถูกตอง
2.3.6 เอกสารอางอิงมีความสมบูรณถูกตองและทันสมัย
2.4 เกณฑมาตรฐานรูปแบบบทคัดยอ
2.4.1 บทคัดยอควรมีความยาวไมเกินสองหนากระดาษ
2.4.2 บทคัดยอตองนําเสนอตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย โดยมีสวนประกอบที่สําคัญ ดังนี้
2.4.2.1 บทนําหรือความสําคัญของเรื่องที่ศึกษา
2.4.2.2 ความมุงหมายของการศึกษา
2.4.2.3 วิธีการศึกษา กลุมตัวอยาง เครื่องมือในการเก็บขอมูล
2.4.2.4 ผลการศึกษา
2.4.2.5 ขอสรุป หรือขอเสนอแนะในการนําไปใช
คูมือการเขียนบทนิพนธ