Page 12 - กลุ่มคุณทองแดง
P. 12
บทที่ 3
การด าเนินงานโครงการบูรณาการ
คณะผู้จัดท าจะจัดท าค านึงถึงวัตถุประสงค์หลักของการสร้างฝายชะลอน ้าพอเพียงตามแนว
พระราชด าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ต้นน ้า
ล าธาร เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์ และท าให้เกิดความหลากหลายด้านชีวภาพแก่สังคมของพืชและสัตว์
ตลอดจนน าความชุ่มชื้นมาสู่แผ่นดิน หากช่วงที่น ้าไหลแรงฝายสามารถชะลอการไหลของน ้าให้ช้าลง และ
กัก เก็บ กรอง ตะกอนไม่ให้ไหลลงไปในบริเวณลุ่มน ้าตอนล่างปริมาณน ้าที่ฝายกักเก็บไว้ก็ยังสามารถน าน ้า
ไปสู่พื้นที่เพาะปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตทางการเกษตร ท าให้เกษตรกรได้รับประโยชน์จากการสร้างฝายชะลอ
น ้าโดยเฉพาะฝายประเภทกึ่งถาวรและถาวร สามารถสร้างระบบส่งน ้าเข้าพื้นที่ใกล้เคียงเพื่ออุปโภค บริโภค
และการเกษตรเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของฝายชะลอน ้าฯ
วิธีการด าเนินงาน
1. ขั้นเตรียมการ
1. การส ารวจสภาพภูมิประเทศ หรือร่องล าน ้าที่เหมาะสมในการก่อสร้าง
- ก าหนดต าแหน่ง พิกัด ที่เหมาะสมในการก่อสร้าง
- วัดขนาดร่องล าน ้า ความลาดชันท้องล าน ้า
- หาปริมาณน ้าไหลผ่าน ตลอดทั้งปี ช่วงฤดูกาล
- ตรวจสภาพตลิ่งและท้องน ้า มีการกัดเซาะ
2. ก าหนดประเภทและเลือกรูปแบบ ส าหรับการก่อสร้างฝายชะลอน ้าฯ
- ชั่วคราว พื้นที่ลาดชันต้นน ้า ร่องล าห้วย
- กึ่งถาวร พื้นที่ลาดชันปานกลาง ล าห้วยสาขา
- ถาวร พื้นที่ลาดชันน้อย ล าห้วยหลัก
3. สเก็ตซ์รูปแบบ ก าหนดขนาด สัดส่วน และก าหนดวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างให้เป็นไปตามข้อแนะน าใน
คู่มือ ในกรณีที่เป็นฝายชะลอน ้าถาวรต้องมีการเขียนแบบและถอดแบบค านวณหาปริมาณวัสดุที่ใช้ในการ
ก่อสร้างโดยนายช่างหรือวิศวกร