Page 5 - กลุ่มคุณทองแดง
P. 5
บทที่ 1
บทน า
1.1 หลักการและเหตุผล
ฝายชะลอน ้า หรือ Check Dam คือสิ่งก่อสร้าง ที่ท าขึ้นเพื่อขวางหรือกั้นทางน ้า โดยปกติมักจะกั้นล า
ห้วย ล าธารขนาดเล็กในบริเวณที่เป็นต้นน ้า หรือ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และ
หากเป็นช่องที่น ้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน ้าให้ช้าลงด้วย เพื่อการกักเก็บตะกอน
เอาไว้ไม่ให้ไปทับถมล าน ้าตอนล่าง อันเป็นเป็นวิธีการอนุรักษ์ดินและแหล่งน ้า
นอกจากนี้ยังนิยมสร้างฝายชะลอน ้าในพื้นที่ต้นน ้าที่แห้งและเสื่อมโทรม โดยมักจะสร้างในบริเวณร่องน ้า
เมื่อฝนตกฝายจะท าการชะลอน ้าไม่ให้ไหลเร็วจนเกินไป ท าให้ในบริเวณดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ ดิน
เกิดการอุ้มน ้า ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดียิ่งขึ้น พื้นที่มีความชุ่มชื้น อันจะส่งผลดีต่อบริเวณโดยรอบซึ่งสอดคล้อง
กับแนวพระราชด าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เกี่ยวกับการพัฒนาและฟื้นฟูป่าไม้ ด้วยการใช้
ทรัพยากรที่เอื้ออ านวย เกิดการสัมพันธ์ซึ่งกันและกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ฝายชะลอน ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ ฝายชะลอน ้าแบบท้องถิ่น (หรือฝายแม้ว ที่ท าโดยวัสดุ
จากธรรมชาติ เช่น กิ่งไม้ ไม้ล้ม หรือก้อนหินชนิดต่างๆ มาวางเรียงซ้อนกัน) ฝายชะลอน ้าแบบเรียงด้วยหิน
(ฝายกึ่งถาวร) และฝายชะน ้าแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก (ฝายแบบถาวร) ซึ่งการก่อสร้างฝายชะลอน ้านั้นควร
ได้รับการศึกษาโดยละเอียด ให้มีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และปัญหา เพราะไม่เช่นนั้นอาจเกิดผลเสีย
มากกว่าผลดีได้ เช่น ท าให้น ้านิ่ง ไม่เกิดการไหลเวียน ส่งผลให้น ้าเน่าเสีย ระบบนิเวศเสื่อมโทรม หรือ
แม้กระทั่งการก่อสร้างฝาย อาจไปท าลายทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่โดยรอบได้
1.2 ความเป็นมาฝายชะลอน ้า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จในท้องถิ่น
ชนบท ทั่วประเทศไทย ได้ทรงทอดพระเนตรเห็นความเสื่อมโทรมของป่าไม้ ที่น าไปสู่ความแห้งแล้งของ
แผ่นดิน และได้ทรงห่วงใยทรัพยากรธรรมชาติ และพสกนิกรของพระองค์มาโดยตลอด ทรงอุทิศพระองค์ใน
การจัดหาแหล่งน ้าให้ราษฎรในท้องถิ่นชนบทที่ห่างไกล และทุรกันดารมาเป็นเวลานาน และทรง
ทอดพระเนตรเห็นความแห้งแล้งที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในภาคอีสาน ทรงวิตกว่าหากปล่อยไว้อย่างนี้
จะต้องกลายเป็นทะเลทรายอย่างแน่นอน พระองค์ทรงวินิจฉัยหาสาเหตุและทรงทราบว่า สาเหตุหนึ่งของการ
ตัดไม้ท าลายป่าก็คือการรู้เท่าไม่ถึงการณ์และความยากจน และด้วยปณิธานของพระองค์ในการช่วยเหลือ
ประชาชน พระองค์จึงมีพระราชด าริตั้งโครงการเพื่อเป็นการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติขึ้น โดยอาศัยความ
ร่วมมือของประชาชน