Page 190 - Demo
P. 190

โดยอัตราส่วนความปลอดภัยโดยรวม (Factor of Safety, FS) มีควรค่าอยู่ระหว่าง 2.5 ถึง 4
Qall = Qu (5.6) FS
5.3 การคาดคะเนหาแรงบากทานท่ีปลายเสาเข็ม(PointEndBearing)
แรงบากทานปลายเสาเข็ม (Qp) คํานวณหาจากพ้ืนที่หน้าตัดของปลายเสาเข็มท่ีรับแรงกับหน่วยแรงบาก ทานของดินที่ปลายเสาเข็ม (qp) โดยหน่วยแรงบากทานของดินที่ปลายเสาเข็ม (qp) น้ัน ถูกแบ่งออกเป็น หน่วยแรงบากทานของดินเหนียวที่ปลายเสาเข็ม และหน่วยแรงบากทานของดินทรายที่ปลายเสาเข็ม
5.3.1 ดินทราย
สมการท่ีใช้ในการคาดคะเนหน่วยแรงบากทานของดินทรายที่ปลายเสาเข็มได้ถูกนําเสนอโดยนักวิจัย หลายท่านและยังได้มีการหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าทดสอบในสนาม SPT และ CPT กับหน่วยแรง บากทานของดินทราย โดยมีรายละเอียดดังน้ี
ก. Meyerhof(1976)
จากสมการที่ 5.3
Q =A .q =A (cN* +q'N* ) ppppcq
ชั้นดินทรายค่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดิน c' มีค่าเท่ากับ 0 ดังนั้นหน่วยแรงบากทานของช้ันดิน ทรายที่ปลายเสาเข็ม (qp) หาได้จากสมการที่ 5.6
q =q′.N* pq
(5.6)
โดยค่า q' คือความเค้นประสิทธิผลท่ีปลายเสาเข็ม ดังนั้นจะเห็นได้ว่าค่าหน่วยแรงบากทานของ ช้ันดินทรายจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามระดับความลึกที่เสาเข็มฝั่งอยู่ และหน่วยแรงบากทานของช้ันดิน ทรายจะมีค่าสูงสุดที่อัตราส่วนการฝังที่ (Lb/D)cr ท่ีอัตราส่วนการฝังมากกว่า (Lb/D)cr ค่าหน่วย แรงบากทานของช้ันดินทราย qp จะมีค่าคงที่ดังแสดงในรูปที่ 5.3 โดยค่า qp = ql หาได้จาก สมการที่ 5.7
q =0.5(p )N* tanφ laq
(5.7)
 181
 


















































































   188   189   190   191   192