Page 223 - Demo
P. 223
จากข้อกําหนดดังกล่าวจะเห็นว่าเมื่อได้ข้อมูลการรับนํ้าหนักสูงสุดของเสาเข็มจากมาตรฐานที่กําหนด แล้วสามารถหานํ้าหนักบรรทุกปลอดภัยเพ่ือนําไปใช้การออกแบบได้โดยใช้อัตราส่วนความปลอดภัยท่ี เหมาะสม
ในการทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มปกติจะกําหนดให้ทดสอบถึง 2 - 2.5 เท่าของน้ําหนักท่ีใช้ ในการออกแบบหากทําการทดสอบเสาเข็มแล้วเกิดดารวิบัติก่อนที่จะเพ่ิมน้ําหนักถึง2-2.5 เท่าของ นํ้าหนักที่ออกแบบตามที่กําหนดแล้ว อาจจะต้องมีการพิจารณาจํานวนเสาเข็มในแต่ละฐานของอาคารใหม่ โดยจะต้องคํานึงถึงค่าการทรุดตัว และค่าอัตราส่วนความปลอดภัยของเสาเข็มท่ีนํ้าหนักใช้งานจริง นอกจากนี้อาจจะต้องมีการพิจารณานํ้าหนักของอาคารที่ถ่ายลงสู่เสาเข็มอย่างละเอียดอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม ค่าอัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety) ที่นํ้าหนักใช้งานจริงไม่ควรตํ่ากว่า 1.75-1.80 และ ต้องคํานึงถึงการลดค่ากําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม เม่ือทําการติดต้ังเสาเข็มเป็นกลุ่มด้วย เนื่องจากการ ทดสอบเสาเข็มโดยวิธีนี้จะถือว่าเป็นการรับน้ําหนักของเสาเข็มเดี่ยว
5.6 การคาดคะเนการทรุดตัวอีลาสติกของเสาเข็ม (Elastic Settlement of Piles)
การทรุดตัวอีลาสติกเนื่องจากน้ําหนักกระทําในแนวดิ่งหาได้จากสมกรที่ 5.42
Se = Se(1) + Se(2) + Se(3)
โดย
Se(1) = การทรุดตัวอีลาสติกของเสาเข็ม
Se(2) = การทรุดตัวอีลาสติกของเสาเข็มเนื่องจากแรงบากทานที่ปลายเสาเข็ม Se(3) = การทรุดตัวอีลาสติกของเสาเข็มเน่ืองจากแรงเสียดทานที่ผิวเสาเข็ม
(5.36)
สมมติให้วัสดุท่ีใช้การผลิตเสาเข็มให้เป็นวัสดุอีลาสติก ดังน้ันการเสียรูปของเสาเข็มสามารถหาได้ดัง สมการท่ี 5.37
โดย
ξ
แรงบากทานท่ีปลายเสาเข็มรับ แรงเสียดทานท่ีผิวเสาเข็มรับ พื้นท่ีหน้าตัดของเสาเข็ม ความยาวของเสาเข็ม โมดูลัสความยืดหยุ่นของวัสดุที่ใช้ทําเสาข็ม
Qwp =
Qws = Ap = L = Ep =
Se(1) =
(Qwp +ξQws)L Ap.Ep
(5.37)
= 0.5 ถึง 0.67 ข้ึนอยู่กับการกระจายของหน่วยแรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม
214