Page 225 - Demo
P. 225

โดย
p = เส้นรอบรูปของเสาเข็ม
Iws = แฟคเตอร์อิทธิพล
Iws = 2 + 0.35 L (Vesic 1977)
D
L = ความยาวของเสาเข็มท่ีฝังอยู่ในช้ันดิน
Vesic (1977) ได้เสนอสมการในการคาดคะเนการทรุดตัวแบบอีลาสติกที่เนื่องจากแรงเสียดทานท่ีผิว เสาเข็มดังสมการที่ 5.41
Se(3) = QwsCs Lqp
(5.41)
(5.41)
 โดย
L Cs = 0.93+0.16 DCp

Cp = แสดงในตารางที่ 5.7
ตัวอย่างท่ี 5.4 เสาเข็มคอนกรีตขนาด 0.40 m × 0.40 เมตร ยาว 18 เมตร ฝังอยู่ในชั้นดินทรายท่ีมี
หน่วยนํ้าหนักดินเท่ากับ 16 kN/m3 และ φ= 37o เสาเข็มรับแรงกระทําในแนวดิ่ง 900 kN โดยแรง เสียดทานท่ีเกิดข้ึนระหว่างเสาเข็มกับดินทรายมีค่าเท่ากับ 600 kN และแรงบากทานที่เกืดขึ้นท่ีปลาย เสาเข็มมีค่าเท่ากับ 300 kN จงคํานวณหาค่าการทรุดตัวอีลาสติก เม่ือกําหนดให้ Ep = 2.1× 106 kPa,
Es =30×103 kPa,μs =0.35และξ =0.57 วิธีทํา
จากสมการท่ี 5.36 และจากสมการที่ 5.37
จะได้ว่า
Se = Se(1) + Se(2) + Se(3)
(Qwp +ξQws)L Ap.Ep
Se(1) =
(300 + (0.57)(600))18
 Se(1)=
Se(1) =1.91×10−3mm
(0.4×0.4)× 2.1×10
( 6) m
   216
 






































































   223   224   225   226   227