Page 226 - Demo
P. 226
Se(2) =
qwpD 1−μs Iwp (2)
Es
จากสมการที่ 5.38
จะได้ว่า
จากสมการที่ 5.40
จะได้ว่า
ดังนั้น
5.7 เสาเข็มรับแรงด้านข้าง(LaterallyLoadedPiles)
เสาเข็มในแนวดิ่งจะต้านทานแรงท่ีมากระทําด้านข้างด้วยแรงดันดินด้านข้างเชิงรับ (Passive Pressure) ของดินที่อยู่รอบด้านเสาเข็ม ดังแสดงในรูปท่ี 5.1(ค) แรงปฏิริยาของดินท่ีรับแรงด้านข้างนั้นจะข้ึนอยู่กับ (ก) ความแข็งของเสาเข็ม (ข) ความแข็งของดิน (ค) ความตรึงของปลายของเสาเข็ม โดยท่ัวไปเสาเข็มที่ รับแรงด้านข้างสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทได้แก่ (1) เสาเข็มสั้นหรือเสาเข็มแบบแข็งเกร็ง (Rigid Piles)และ(2)เสาเข็มยาวหรือเสาเข็มแบบยืดหยุ่น(Elastic Piles)รูปที่5.16 (ก) และ5.16 (ข) แสดงลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของการโก่งตัวของเสาเข็มและการกระจายของโมเมนต์และแรงเฉือน ตามความยาวของเสาเข็มเม่ือเสาเข็มมีแรงด้านข้างมากระทํา วิธีการการวิเคราะห์การรับแรงด้านข้างใน ปัจจุบันมีอยู่ 2 วิธี ได้แก่วิธี Elastic Solution และวิธีของ Broms (Broms’s Method)
300 2 0.42 0.4 1−0.35 0.85
() Se(2) = 3
m
30×10 Se(2) = 0.0186 m
QwsD( 2) Se(3) = pL E 1−μs Iws
s
18
600 0.4 ( 2)
Se(3) =(4×0.4)×1830×103 1−0.35 2+0.35 0.4 m
Se(3) =1.06×10−3 m
Se =1.91×10−3 +0.0186+1.06×10−3 m
Se = 0.02157 m ตอบ
217