Page 69 - Demo
P. 69

ตารางท่ี 2.5 (ต่อ) ค่าปัจจัย
สมการ
F =1+2tanφ(1−sinφ)2tan−1(f) qd B
F =1 γd
D
โดย tan−1 ( f ) จัดให้อยู่ในหน่วยเรเดียน
B
อ้างอิง
Hansen (1970)
      ความลึก
Df >1และ φ > 0:
B 1−F
F=F− cd qd
qd Nc tanφ
 แรงเอียง
 β 2 F =F =1− 
Meyerhof (1963); Meyerhof และ Hanna (1981)
ci qi  90  β2
F = 1−
γi  φ
 
β = มุมของแรงเอียงวัดเทียบจากแนวด่ิง
D
   2.3.3 อิทธิพลของระดับนํ้าใต้ดินท่ีมีต่อกําลังรับน้ําหนักบรรทุก (Modification of Bearing capacity Equations for Water Table)
ระดับนํ้าใต้ดินมีอิทธิพลต่อกําลังรับน้ําหนักบรรทุก เพราะถ้ามีระดับน้ําใต้ดินสูงค่าความเค้น ประสิทธิผลของดินจะมีค่าลดลง โดยในการคิดอิทธิผลของระดับน้ําใต้ดินจะแบ่ง
ออกเป็น 3 กรณี
กรณีที่ 1 ระดับนํ้าใต้ดินอยู่เหนือระดับความลึกของวางฐาน ดังแสดงในรูปท่ี 2.9 ค่าหน่วยนํ้าหนักใน
พจน์ท่ี 3 จะถูกแทนท่ีด้วย γ′= γ - γw
กรณีท่ี 2 ระดับนํ้าใต้ดินอยู่ตํ่ากว่าระดับความลึกของวางฐาน น้อยกว่าความกว้างของฐานราก (B)
d ดังแสดงในรูปท่ี 2.10 ค่าหน่วยน้ําหนักในพจน์ท่ี 3 จะถูกแทนที่ด้วย γ′ = γ − γ 1 − ( )
กรณีที่3 ระดับนํ้าใต้ดินอยู่ตํ่ากว่าระดับความลึกของวางฐานมากกว่าความกว้างของฐานราก(B) ดังแสดงในรูปท่ี 2.11 ซึ่งในกรณีนี้นํ้าใต้ดินไม่มีผลต่อกําลังรับน้ําหนักบรรทุก ค่าหน่วยนํ้าหนักในพจน์
ที่ 3 จะถูกแทนที่ด้วย γ′= γ
w B
 60
 
































































   67   68   69   70   71