Page 71 - Demo
P. 71

2.3.4 อัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety)
การคํานวณกําลังรับน้ําหนักบรรทุกรวมของฐานรากตื้นท่ียอมให้ (Allowable Load Bearing Capacity, qall) ต้องใช้อัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety, FS) กับกําลังรับน้ําหนักบรรทุก ประลัยของฐานราก (Ultimate Load Bearing Capacity, qu) โดย
qall = qu (2.17) FS
Vesic (1975) แนะนําค่าอัตราส่วนความปลอดภัย (FS) ขั้นตํ่า สําหรับฐานรากแผ่ ดังแสดงในตารางท่ี 2.6
อย่างไรก็ตาม บางคร้ังที่ในทางปฏิบัติได้ใช้กําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยสุทธิ (Net Ultimate Bearing Capacity, qnet(u)) แทนกําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยในการออกแบบฐานรากต้ืน โดยกําลัง รับน้ําหนักบรรทุกประลัยสุทธิคํานวณได้จากสมการท่ี 2.18
qnet(u) =qu −q (2.18) γ.Df
โดย q=
ตารางท่ี 2.6 ข้อแนะนําค่าอัตราส่วนความปลอดภัย (FS) สาํ หรับฐานรากแผ่ (Vesic 1975)
   ลําดับ
ชนิดของโครงสร้าง
อัตราส่วนความปลอดภัย (FS) มีข้อมูลเจาะ ไม่มีข้อมูลเจาะ
สํารวจดิน สํารวจดิน 3.0 4
2.5 3.5 2.0 3.0
      A สะพานรถไฟ โกดังเก็บสินค้า โรงหล่อ งานทางด้าน ชลประทาน กําแพงกันดิน ไซโล
B สะพาน อาคารโรงงาน อาคารสาธารณะ
C อพาร์ทเมนต์ อาคารสํานักงาน
 กําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยสุทธิหมายถึงความดันสูงสุดต่อพ้ืนที่หน่วยของรากฐานที่ดินสามารถ รองรับได้มากกว่าความดันที่เกิดจากดินโดยรอบในระดับรากฐาน โดยไม่คิดความแตกต่างระหว่าง นํ้าหนักของคอนกรีตท่ีใช้ในงานรากฐานและนํ้าหนักของดินรอบข้าง ดังนั้นความเค้นท่ีเพ่ิมข้ึนสุทธิ (Net Stress increase on soil, qall(net)) จะหาได้จากสมการ 2.19 โดยอัตราส่วนความปลอดภัย (FS) ท่ีใช้ในสมการที่ 2.19 ควรมีค่าไม่น้อยกว่า 3
 62

















































































   69   70   71   72   73