Page 86 - Demo
P. 86
qmax = 4Qz (2.20) 3L(B−2e)
2.4.1 กําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยภายใต้แรงกระทําแบบแรงเย้ืองศูนย์ในหนึ่งทาง (Ultimate Bearing Capacity – One way Eccentricity)
ก) วิธีพื้นท่ีประสิทธิผล (Effective Area Method)
ในปี 1953 Meyerhoff ได้นําเสนอทฤษฎีวิธีพื้นท่ีประสิทธิพล (Effective Area Method) ซ่ึงมี ขั้นตอนในการคํานวณในการหากําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของฐานรากและอัตราส่วนความ ปลอดภัย ดังต่อไปน้ี
ขั้นตอนท่ี1:
หาพ้ืนท่ีประสิทธิประสิทธิผล(A′)ดังแสดงในรูปท่ี2.13ขโดย B′ = ความกว้างประสิทธิผล = B - 2e
L′ = ความยาวประสิทธิผล = L
ดังนั้น
(2.21) คํานวณหากําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยจากสมการที่2.13โดยแทนความกว้าง
ขั้นตอนท่ี2:
A′ = B′.L′
ของฐานราก (B) ในสมการที่ 2.13 ด้วยความกว้างประสิทธิผล (B′) ดังแสดงใน
สมการที่ 2.22
q′ =cN F F F +qN F F F +0.5γB′N F F F
(2.22)
u c cs cd ci q qs qd qi γ γs γd γi
ค่าปัจจัยรูปร่าง Fcs, Fqs และ Fγs ซึ่งคํานวณได้จากตารางที่ 2.5 น้ัน กําหนดให้
แทนความกว้าง (B) และความยาว (L) ของฐานรากด้วยความกว้างประสิทธิผล (B′) และความยาวประสิทธิผล (L′)
ค่าปัจจัยระดับความลึก Fcd, Fqd และ Fγd กําหนดให้ใช้ความกว้าง (B) ของฐาน ราก ในการคํานวณหาเหมือนเดิม
ขั้นตอนท่ี 3: นํ้าหนักบรรทุกประลัยของฐานรากคํานวณได้จากพื้นที่ประสิทธิประสิทธิผล (A′) ดัง แสดงในสมการที่ 2.23
Q =q'.A′
(2.23)
ult
u
77