Page 42 - ศกสราษใหม4_Neat
P. 42

42:





          กำรประมงและกำรเพำะเลี้ยงชำยฝั่ง


               จังหวัดสุรำษฎร์ธำนีเป็นจังหวัดที่มีกำรเพำะเลี้ยง

            สัตว์น้ ำเป็นจ ำนวนมำกเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

            มีสินค้ำสร้ำงชื่อเสียงให้กับสุรำษฎร์ธำนี  ได้แก่  หอย
            ตะโกรม กุ้ง ปลำ ปู กั้ง หอยขำว และสัตว์น้ ำอื่นๆ ที่ท ำ

            ให้จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี เป็นแหล่งผลิตอำหำรทะเลของ

            ประเทศ ประมงชำยฝั่งมีมูลค่ำ 3,059 ล้ำนบำท คิดเป็น
            ร้อยละ1. 9 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดและพบว่ำ


            มีแนวโน้มลดลงอย่ำงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553 – 2555

               กำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำเหล่ำนี้ยังประสบปัญหำอยู่มำก

            ท ำให้เกษตรกรส่วนหนึ่งโดยเฉพำะเกษตรกรในระดับ
            ชำวบ้ำนต้องประสบควำมล้มเหลวและขำดทุน  หรือแม้

            เพำะเลี้ยงได้ก็ไม่สำมำรถท ำก ำไรได้อันเนื่องมำจำกต้นทุน

            ที่สูงและอัตรำกำรรอดต่ ำของสัตว์ที่เพำะเลี้ยง รวมทั้ง
            กำรเจริญเติบโตที่ไม่เป็นไปตำมก ำหนด



                                                                  ลักษณะกำรท ำประมงในจังหวัดสุรำษฎร์ธำนี  มีทั้ง

                                                              กำรประมงน้ ำเค็ม กำรท ำประมงน้ ำกร่อย กำรเพำะเลี้ยง
                                                              สัตว์น้ ำชำยฝั่ง  และกำรประมงน้ ำจืด  รวมถึงกำรเลี้ยง

                                                              กุ้งทะเล  โดยเฉพำะโครงกำรกุ้งสุรำษฎร์ธำนี  หรือ

                                                              Suratthani Sustainable Program (SSP) ได้ชื่อว่ำ
                                                              เป็นกุ้งที่มีคุณภำพดีที่สุดในโลก ซึ่งมีตลำดส ำคัญหลำย

                                                              ประเทศในยุโรปเป็นคู่ค้ำที่ส ำคัญ  และผลิตที่ได้รวมทั้ง

                                                              มูลค่ำมีเพิ่มมำกขึ้น มีกำรขยำยตัวเพิ่มขึ้นเป็นผลจำกกำร

                                                              ที่เกษตรกรสำมำรถเลี้ยงกุ้งได้ผลผลิตต่อฟำร์มสูงขึ้น
                                                              เพรำะเกษตรกรมีประสบกำรณ์ในกำรเลี้ยงกุ้งมำกขึ้น

                                                              และมีกำรใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและน ำเทคนิคใหม่ ต่ำงๆ

                                                              เข้ำมำประยุกต์ใช้กับกำรเลี้ยงกุ้ง รวมทั้ง กำรจับสัตว์น้ ำ
                                                              จำกแหล่งน้ ำจืดมีปริมำณเพิ่มมำกขึ้น
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47