Page 63 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 63

๕๔




                          ¤ÇÒÁสํา¤ÑޢͧÊÙμÔºÑμÃ
                          สูติบัตรเปนเอกสารหลักฐานสําคัญตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.๒๕๓๔

              ใชพิสูจน ตรวจสอบ หรือยืนยันตัวบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนหลักฐานในการขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบาน
              (สูติบัตรและใบแจงการยายที่อยู) หรือเปนหลักฐานในการขอจําหนายชื่อออกจากทะเบียนบาน (มรณบัตร)
              และเกี่ยวของกับสิทธิ หนาที่ของบุคคล ไดแก การศึกษา การประกอบอาชีพ การเลือกตั้ง เปนตน
                          ดังนั้น ผูที่ไดรับเอกสารฉบับนี้จากทางราชการ ควรตรวจสอบรายการตางๆ วาเจาหนาที่

              ไดลงไวครบถวน ถูกตองหรือไม หากพบวามีรายการใดไมถูกตอง ขอใหรีบแจงเจาหนาที่แกไขทันที
                          ¡ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉÒÊÙμÔºÑμÃ

                          กฎหมายกําหนดมิใหผูใดทุจริตทําปลอม เติม หรือตัดทอนขอความ หรือแกไขดวย
              ประการใดๆ ในสูติบัตรโดยไมมีอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย หากฝาฝนตองระวางโทษตามประมวล
              กฎหมายอาญา มาตรา ๒๖๕ (จําคุกตั้งแต ๖ เดือนถึง ๕ ป และปรับตั้งแต ๑,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ บาท)
                          การเก็บรักษาสูติบัตรซึ่งถือเปนเอกสารที่มีความสําคัญ มีแนวปฏิบัติดังนี้

                          ๑.  ควรเก็บรักษาไวในที่ปลอดภัย อยาใหเอกสารถูกนํ้า หรือถูกทําลาย หรือถูกบุคคลอื่น
              นําไปใชแอบอางสวมตัวใชสิทธิ์โดยมิชอบ

                          ๒.  หามมิใหผูใดซึ่งไมมีอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย ทําการแกไข ขูด ลบ ขีดฆา หรือเขียน
              ขอความเพิ่มเติมลงในเอกสารนี้โดยเด็ดขาด
                          หากมีขอสงสัยประการใดเกี่ยวกับสูติบัตร สามารถติดตอสอบถามไดที่สํานักทะเบียน
              อําเภอ กิ่งอําเภอ เทศบาล เมืองพัทยา เขตตางๆ ในกรุงเทพมหานคร หรือสํานักทะเบียนสาขา หรือ

              ที่สํานักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง (วังไชยา นางเลิ้ง) ถนนนครสวรรค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
              โทร. ๐-๒๒๘๑-๓๙๐๐, ๐-๒๒๘๑-๓๑๒๑ หรือศูนยบริการตอบปญหางานทะเบียนและบัตรประจําตัว

              ประชาชน โทร. ๑๕๔๘


              ò. ¡ÒÃᨌ§μÒÂ
                          กรณีที่ทองที่ใดมีคนตาย กฎหมายกําหนดเกี่ยวกับบุคคลที่มีหนาที่แจงตอนายทะเบียน

              ทองที่ที่มีการตายเกิดขึ้น โดยแบงเปน ๓ กรณีดังนี้
                          ñ. ¤¹μÒÂ㹺ŒÒ¹  เจาบานตองแจงตอนายทะเบียนทองที่ที่มีการตายเกิดขึ้นภายใน

              ๒๔ ชั่วโมง นับแตเวลาที่ตาย หากไมมีเจาบานใหผูพบศพเปนผูแจงภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแตเวลาพบศพ
                          ò. ¤¹μÒ¹͡ºŒÒ¹ ใหผูที่ไปกับผูตายหรือผูพบศพแจงตอนายทะเบียนทองที่ที่มี
              การตายเกิดขึ้น หรือทองที่ที่พบศพ หรือทองที่ที่พึงจะแจงไดภายใน ๒๔ ชั่วโมง หรือจะแจงตอพนักงาน

              ฝายปกครองหรือตํารวจที่สะดวกกวาก็ได เวลาในการแจงนั้นไดอีกไมเกิน ๗ วัน นับแตเวลาตาย
              หรือพบศพ สําหรับทองที่ที่มีการคมนาคมไมสะดวก
                          ó. ÅÙ¡μÒÂã¹·ŒÍ§  หมายถึง ลูกที่อยูในครรภมารดาเปนเวลาเกิน ๒๘ สัปดาห

              หรือ ๑๙๖ วัน และคลอดออกมาโดยไมมีชีวิต ดังนั้น ถาลูกนั้นอยูในครรภมารดาไมถึง ๒๘ สัปดาห
              แมจะคลอดออกมาโดยไมมีชีวิตก็ไมถือวาเปนเรื่องของลูกตายในทอง ผูที่มีหนาที่ในการแจง ไดแก
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68