Page 57 - 10_พระราชบญญตตำรวจแหงชาต2547_Neat
P. 57

๕๐



              ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒâŒÒÃÒª¡ÒÃμíÒÃǨ

                                    ÷
                          ÁÒμÃÒ óð   ใหมีคณะกรรมการขาราชการตํารวจคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา “ก.ตร.”
              ประกอบดวย

                                       (๑)  นายกรัฐมนตรี เปนประธานกรรมการขาราชการตํารวจ
                                       (๒)  ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนรองประธานกรรมการขาราชการ

              ตํารวจ
                                       (๓)  เลขาธิการ ก.พ. จเรตํารวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

              เปนกรรมการขาราชการตํารวจโดยตําแหนง
                                       (๔)  กรรมการขาราชการตํารวจผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไดรับเลือกจากวุฒิสภา
              จํานวนสองคน

                          ใหผูบัญชาการสํานักงานคณะกรรมการขาราชการตํารวจเปนเลขานุการ และรองผูบัญชาการ

              สํานักงานคณะกรรมการขาราชการตํารวจเปนผูชวยเลขานุการ
                          ÁÒμÃÒ óñ  ให ก.ตร. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
                                       (๑)  กําหนดนโยบายและมาตรฐานการบริหารงานบุคคลของขาราชการ

              ตํารวจและจัดระบบราชการตํารวจ รวมตลอดทั้งการอบรมและพัฒนาขาราชการตํารวจ ในการนี้
              หาก ก.ต.ช. ไดกําหนดระเบียบแบบแผนและนโยบายไวเปนการทั่วไป การกําหนดในเรื่องดังกลาวของ

              ก.ตร. ตองสอดคลองกับระเบียบแบบแผนและนโยบายของ ก.ต.ช. และให ก.ตร. แจงการดําเนินการ
              นั้นให ก.ต.ช. ทราบดวย

                                       (๒)  ออกกฎ ก.ตร. ระเบียบ ขอบังคับ ขอกําหนด ประกาศ หรือมีมติเกี่ยวกับ
              การบริหารงานบุคคล เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้

                                       (๓)  กํากับดูแล ตรวจสอบ และแนะนํา เพื่อใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ
              บริหารงานบุคคลใหเปนไปตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกระเบียบใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ

              รายงานเกี่ยวกับการสอบ การบรรจุ การแตงตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย
              การออกจากราชการ และการปฏิบัติการอื่นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามพระราชบัญญัตินี้

                                       (๔)  รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจํา
              ตําแหนง เงินเพิ่มคาครองชีพ สวัสดิการ หรือประโยชนเกื้อกูลอื่นสําหรับขาราชการตํารวจใหเหมาะสม

                                       (๕)  กําหนดชั้นยศที่ควรบรรจุแตงตั้งและอัตราเงินเดือนที่ควรไดรับสําหรับ
              วุฒิปริญญาหรือประกาศนียบัตรตางๆ

                                       (๖)  กําหนดอัตราคาธรรมเนียมในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการบริหารงาน
              บุคคลตามพระราชบัญญัตินี้



                 ๗   มาตรา ๓๐ แกไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๘๘/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย
              วาดวยตํารวจแหงชาติ (เลม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗)
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62