Page 206 - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
P. 206

๑๙๙




                                         ๓.  บุคคลที่ไดรับเอกสิทธิ์หรือความคุมกันตามกฎหมายพิเศษ ซึ่งบุคคล
                 ดังกลาวจะใชสิทธิที่จะไมยอมเบิกความหรือตอบคําถามไดตอเมื่อไดปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมาย

                 นั้นๆ บัญญัติไว



                 μÑÇÍ‹ҧคํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
                             คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè øòô/òôùò  พยานเบิกความโดยไมไดปฏิญาณหรือสาบาน ยอมรับ

                 ฟงไมได  ความปรากฏในชั้นศาลอุทธรณ ศาลอุทธรณยอนสํานวนไปใหพิจารณาใหม พยานไดสาบาน
                 แลวรับรองวา คําที่เบิกความไวเปนความจริง ดังนี้ ศาลจะรับฟงคําเบิกความครั้งกอนนั้นไมได

                 ไมเหมือนกับกรณีที่พยานไดสาบานในขณะที่เบิกความอยูซึ่งศาลรับฟงคําเบิกความกอนสาบานดวยได
                                     กรณีเชนนี้มีใหเห็นเปนประจํา ถาลืมใหพยานสาบานพอนึกได ขณะพยานเบิกความ

                 ก็ใหสาบานเสีย ถาลวงเลยจนถึงศาลสูงแลว จะใหสาบานและรับรองคําเบิกความที่ไมไดสาบานนั้น
                 ศาลไมรับฟงเพราะชวงเวลาหางกันมาก


                  ¢ŒÍÊѧà¡μ
                          นอกจากบุคคลดังกลาวไมตองตอบคําถามหรือเบิกความแลว ยังมีคําถามอีกบางประการ ซึ่ง¤Ù‹¤ÇÒÁäÁ‹μͺคํา¶ÒÁ
                  หรือเบิกความก็ไมมีความผิด คือ
                          ๑.  เปนคํา¶ÒÁ·ÕèäÁ‹à¡ÕèÂǡѺ»ÃÐà´ç¹áË‹§คดี พยานไมตองตอบ
                          ๒.  เนื่องจากคําถามนั้นหากตอบไปÍÒ¨·íÒãËŒà¢ÒμŒÍ§ÃѺâ·É·Ò§ÍÒÞÒหรือเปนคํา¶ÒÁ·ÕèËÁÔè¹»ÃÐÁÒ·พยาน
                  เวนแตคําถามเชนวานั้นเปนขอสาระสําคัญในอันที่จะชี้ขาดขอพิพาท (ป.วิ.แพง มาตรา ๑๑๘ ซึ่ง ป.วิอาญา มาตรา ๑๕
                  นํามาใชในคดีอาญา)
                          ๓.  เนื่องจากคําถามที่ทําใหตองແ´à¼Â¤ÇÒÁÅѺ (มาตรา ๒๓๑)
                              จากมาตรา ๒๓๑ อาจแยกความลับที่พยานมีสิทธิไมตอบ ดังนี้
                              ก.  ความลับในราชการ คือ หนังสือราชการ โดยสภาพจะตองรักษาไวเปนความลับชั่วคราว หรือตลอดไป
                  ซึ่งยังไมเปดเผย พยานจะตองใหการหรือตอบคําถามนี้เปนผูรักษาหรือทํา หรือทราบมาโดยตําแหนงหนาที่ราชการหรือกิจการ
                  ของตน
                              ข.  ความลับโดยอาชีพ  หรือหนาที่ซึ่งเปนเอกสารหรือขอความที่เปนความลับ ยังไมเปดเผย ซึ่งทราบมา
                  หรือทําโดยอาชีพหรือหนาที่
                              ค.  การประดิษฐแบบแผนหรืองานอยางอื่นที่กฎหมายคุมครองไมยอมใหเปดเผย ซึ่งเปนสิทธิที่พยานไดมา
                  โดยกฎหมายอื่นบัญญัติคุมครองไวนอกเหนือจากบัญญัติมาตรา ๒๓๑ แหง ป.วิ.อาญานี้
                          ๔.  คําถามที่หมิ่นประมาทพยาน แตอยางไรก็ตาม กรณีนี้ไดมีขอยกเวน ใน ป.อาญา มาตรา ๓๓๑ ซึ่งบัญญัติ
                  วา “คูความหรือทนายความของคูความ ซึ่งแสดงความคิดเห็นหรือขอความในกระบวนพิจารณาในศาลเพื่อประโยชนแกคดี
                  ของตน ไมมีความผิดฐานหมิ่นประมาท”
                          สําหรับชั้นพนักงานสอบสวน มาตรา ๑๓๓ ระบุวา “การถามปากคํานั้น พนักงานสอบสวนจะใหผูใหถอยคําสาบาน
                  หรือปฏิญาณตัวเสียกอนก็ได และตองปฏิบัติตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยพยานบุคคล” ดังนั้น พนักงาน
                  สอบสวนจะใหผูใหถอยคําสาบานหรือปฏิญาณตนเสียกอนก็ได (ยกเวนผูตองหา) แตในเรื่องสิทธิของพยานในชั้นศาลมีอยางไร
                  พยานในชั้นสถานีตํารวจก็มีเชนกัน
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211