Page 60 - OST April 2020
P. 60
๑. สสี นั พระอาทติ ยต์ กทหี่ าดแหลมสน บรเิ วณปากนา้ ประแส
ล่องแพเปียก
2. ขจี่ กั รยานรบั แสงตะวนั ยามเชา้ ทชี่ ายหาดอนสุ รณเ์รอื หลวงประแส 3. รวิ้ คลนื่ และแสงตะวนั ยามเชา้
ทหี่ าดอนสุ รณเ์รอื หลวงประแส
1. The fascinating sunset at
Hat Laem Son, the Prasae Estuary.
2. Riding a bike amid the morning sunlight at the beach of the HTMS Prasae Memorial.
3. The wave stripes and sunlight in the morning at the beach of the HTMS Prasae Memorial.
ชมเหยย่ี วแดง แลพระอาทติ ยต์ ก
๑I1
กิจกรรมท่องเที่ยวของชุมชนปากน้าประแสท่ีบอกถึงเรื่องราวในอดีตของการตั้งถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ ของชาวประมงทมี่ กั เลอื กการตงั้ บา้ นเรอื นทตี่ ดิ แมน่ า้ ใหญ่ มกี ารสญั จรออกไปทา ประมงในทะเลใหญไ่ ด้ และทา เลทตี่ งั้ ยังเป็นภูมิศาสตร์ที่สามารถป้องกันภัยธรรมชาติจากพายุในช่วงมรสุมได้เป็นอย่างดี
การตง้ั บา้ นเรอื นจนเปน็ ชมุ ชนใหญป่ ระกอบไปดว้ ยบา้ น ทา่ เรอื วดั วาอาราม ศาลเจา้ โรงเรยี น ตลาด รา้ นคา้ ตา่ ง ๆ เป็นส่วนประกอบสาคัญ อย่างชุมชนประแสจัดว่าเป็นชุมชนเก่าแก่ ชาวบ้านมีอาชีพประมงเป็นอาชีพหลัก
จนกระทั่งผ่านห้วงเวลามายาวนาน การทาประมงเร่ิมมีอุปสรรคนานาประการ ต้นทุนค่อนข้างสูงขึ้น กฎหมาย การประมงท่ีเข้มงวดมากขึ้น ทรัพยากรทางทะเลลดน้อยลง เกิดวิกฤตจนชาวประมงบางคนต้องปรับตัว
“บางคนก็ทาไม่ไหว ค่าใช้จ่ายสูงมาก ทาไปแล้วต้องขาดทุน จนต้องเลิกอาชีพประมง ต้องขายเรือ หันมา ทาอาชีพอย่างอื่นแทน” นี่คือเสียงสะท้อนจากชาวประมงดั้งเดิมที่ต้องผันอาชีพมาทาอย่างอื่น บางคนได้จังหวะ มีโอกาสปรับตัวไปตามกระแสการท่องเที่ยวชุมชน ปรับแต่งบ้านเรือนเป็นโฮมสเตย์ โดยเฉพาะบ้านเรือนท่ีต้ังอยู่ ริมแม่น้าประแส พร้อมกับมีกิจกรรมท่องเท่ียวที่สอดคล้องกับชุมชน อาศัยทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่นามาสร้าง ประโยชน์ เช่น บรรยากาศริมแม่น้าประแส เป็นกล่ินอายธรรมชาติที่หลายคนโหยหา รากวัฒนธรรมบ้านเรือนเก่าแก่ ทนี่ า่ สมั ผสั เรอ่ื งราวตา นานของชมุ ชนทน่ี า่ เรยี นรู้และการประยกุ ตร์ ปู แบบการทอ่ งเทยี่ วทแี่ ปลกใหม่ เชน่ การลอ่ งแพเปยี ก ในแม่น้าประแส การชมเหยี่ยวแดงท่ีอาศัยอยู่ตามชายเลนริมแม่น้า จนเกิดเป็นกิจกรรมท่องเท่ียวที่น่าอัศจรรย์ย่ิงนัก
และยังมีเมนูอาหารสดจากทะเล ทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา
โปรแกรมการลอ่ งแพเปยี กและการชมเหยย่ี วแดงทปี่ ากแมน่ า้ ประแส
เป็นทริปท่องเที่ยวเสริมให้กับนักท่องเที่ยวที่พักตามโฮมสเตย์ หรือ นักท่องเท่ียวอ่ืนก็สามารถมาซื้อบริการได้เช่นกัน
“การล่องแพเปียกในแม่น้าประแสและชมเหยี่ยวแดง เรือจะออก ในช่วงประมาณส่ีโมงเย็น โดยจะนาเรือลากแพข้ึนไปด้านบน ปล่อย ให้นักท่องเที่ยวได้เล่นน้า พร้อมให้อาหารเหยี่ยวแดง เมื่อวานก็มี เหยี่ยวออกมาเยอะมาก หลังจากน้ันก็จะพาไปชมพระอาทิตย์ตกที่ ปากแม่น้าด้วย”
ดูจะเป็นเรื่องง่ายเสียจริง ที่กัปตันเรือแค่เป่านกหวีดไม่กี่ครั้ง บรรดาเหยี่ยวแดงจานวนไม่น้อยก็ทยอยบินออกมาจากป่าโกงกาง ริมแม่น้าประแส เพียงบินออกมาวนไม่กี่รอบก็เริ่มโฉบเฉี่ยวลงกินอาหาร ที่โยนลงไปให้ ซึ่งเหยี่ยวแดงเหล่าน้ีจะมีพฤติกรรมท่ีเรียนรู้การหา อาหารได้ดี โดยเฉพาะอาหารท่ีเหยี่ยวแดงหาเองได้ตามธรรมชาติ
“วันนี้เหย่ียวแดงออกมาน้อยกว่าเมื่อวาน ทั้งนี้เขาจะหาอาหารเอง เป็นนกนางแอ่นที่หากินอยู่ตามป่าโกงกาง ซ่ึงเป็นอาหารที่สดกว่า เศษช้ินมันหมูท่ีให้ไป” กัปตันเรือได้บอกให้เราทราบ
ตลอดริมน้าประแสจะปรากฏเป็นชุมชนตั้งบ้านเรือน เป็นแพปลา มีเรือประมงจอดเรียงรายหนาตา บางช่วงเป็นโฮมสเตย์สาหรับ นักท่องเที่ยวที่ดัดแปลงมาจากบ้านเรือนด้ังเดิม ยุคเวลาท่ีผ่านมา เราจะย้อนภาพความรุ่งเรืองของชุมชนชาวประมงได้อย่างดี โดยเฉพาะ อู่ต่อเรือ อู่ซ่อมเรือ ท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ยังเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ชาวประมงของปากน้าประแสอย่างแท้จริง
“พอใกลพ้ ระอาทติ ยต์ กเราจะลากแพลอดสะพานประแสสนิ เพอื่ นา นักท่องเที่ยวไปชมพระอาทิตย์ตกที่ปากแม่น้า เป็นจุดที่พระอาทิตย์ตก ท่ีสวยงามมาก” คนขับเรือคานวณเวลาช่วงเวลาพระอาทิตย์ตกได้อย่าง พอดี ฝั่งด้านซ้ายเป็นอนุสรณ์สถานเรือหลวงประแส ด้านขวาเป็น จุดชมวิวแหลมสน ที่เราได้เห็นพระอาทิตย์ดวงสีส้มแดงกาลังคล้อยต่า เหนอื แนวยอดสนพรอ้ มกบั เรอื่ งราวของผคู้ นทอ่ี อกมาสมั ผสั กบั ธรรมชาติ ในยามเย็น แต่มุมมองพระอาทิตย์ตกจากเรือลากแพกลางแม่น้าท่ี มองเห็นสะพานประแสสินเป็นองค์ประกอบท่ีงดงามแปลกตาไปจาก มุมอ่ืน ๆ
๒I2
58 58
อนุสาร อ.ส.ท. เมษายน ๒๕๖๓