Page 22 - สูจิบัตรการเเสดงศิลปนิพนธ์ รุ่นที่ ๒๐
P. 22
ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง
การแสดงละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา พระองค์ ได้รื้อฟื้นละครสังคีตกลับมาอีกครั้ง โดยนำ เค้าโครงมาจากเรื่อง
ค้นคว้างานวิจัย ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง Le Lac Des Cygnes ของ Piote Llich Tchaikowsky เป็นการแสดง
ละครสังคีตเป็นละครที่ให้กำาเนิดโดยพระบาทสมเด็จ บัลเลต์หรือระบำ ปลายเท้า มาประพันธ์เป็นบทละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) มีวิวัฒนาการมาจากละครร้อง ละครสังคีต เรื่อง หงส์ทอง จัดแสดงครั้งแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐
และละครพูดซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากการแสดงละครตะวันตกในหลาย โดยนักเรียนวิทยาลัยครูสวนดุสิต (มหาวิทยาลัยสวนดุสิต) โดยจัดการแสดง
ประเด็นกล่าวคือ ลักษณะของการร้องที่ผู้แสดงจะเป็นผู้ร้องเอง ตามรูปแบบละครสังคีตของรัชกาลที่ ๖ ใช้ผู้ชายและผู้หญิงแสดง
ได้รับอิทธิพลมาจากละครโอเปร่าของละครตะวันตก ที่นำ มาปรับใช้ เพื่อความสมจริง ต่อมากรมศิลปากรได้มีบทบาทในการนำ ละครสังคีต
ตั้งแต่ละครดึกดำ บรรพ์ การเปลี่ยนฉากตามท้องเรื่องได้รับอิทธิพล เรื่องหงส์ทอง กลับมาจัดแสดงเนื่องในงานครบรอบ ๑๐๐ ปีเกิด หม่อมหลวงปิ่น
มาจากการละครในยุคโรมัน ที่เริ่มนำ ฉากเข้ามาประกอบการแสดง มาลากุล เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ณ โรงละครแห่งชาติ เนื้อเรื่องกล่าวถึงความรัก
เพื่อความสมจริง มีการเปิด-ปิดฉากด้วยตัวละครจำ นวนมาก แต่งกาย ระหว่างเจ้าชายกับนางหงส์ผู้ต้องคำ สาปจากพระอัยกา ให้อยู่ในร่างของหงส์
ตามท้องเรื่อง ซึ่งเนื้อเรื่องหรือบทละครที่ใช้แสดงละครสังคีตส่วนใหญ่ จนกว่าจะพบรักแท้ สามารถเป็นมนุษย์ได้เพียงเวลากลางคืนเท่านั้น เมื่อครั้ง
มีที่มาจากบทละครของตะวันตก ทั้งที่เป็นเรื่องแปลหรือนำ เค้าโครงเรื่อง นางหงส์ปรากฏตัวในงานเต้นรำ ที่วังของเจ้าชาย ทั้งสองได้ตกหลุมรัก และ
มาดัดแปลงใหม่ มีระบำาเป็นหมู่แทรกอยู่เป็นระยะและนิยมใช้ผู้ชาย ให้คำ สัญญาต่อกัน ต่อมาในงานเต้นรำ อีกคืนหนึ่ง หงส์ดำ ผู้เป็นพี่สาว
แสดงล้วน โดยในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีเรื่องที่แสดงละครสังคีตเพียง ๔ เรื่อง ฝาแฝดได้ปรากฏตัวพร้อมพระอัยกา เจ้าชายคิดว่าเป็นนางหงส์จึงเข้าไป
คือ มิกาโด วังตี่ หนามยอกเอาหนามบ่ง และวิวาหพระสมุท ปรากฏการ พูดคุยอย่างสนิทสนม นางหงส์มาเห็นเข้าจึงเสียใจมากและหนีเข้าป่า
แสดงเพียง ๒ เรื่อง คือ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่งและวิวาหพระสมุท ไปทั้งหมด เป็นแผนการของพระอัยกา เมื่อเจ้าชายรู้ว่าตนเข้าใจผิดจึง
หลังจากพระองค์สวรรคต หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล มหาดเล็กรับใช้ใกล้ชิด หนีออกจากวัง เพื่อตามหานางหงส์ รำ พึงรำ พันจะฆ่าตัวตาย