Page 24 - SchoolLibrary_Handbook_ACIT_KRU_ModifiedByNilu
P. 24
คู่มือการจัดการงานห้องสมุดโรงเรียน 19
4.5 วิธีกำรกระจำยตัวเลขของระบบดิวอี้
000 300 370
100 310 371
200 320 372
300 330 373
400 340 374 378.1
500 350 375 378.2
600 360 376 378.3
700 370 377 378.34
800 380 378 378.9
900 390 379
หมวดหมู่ใหญ่ หมวด หมู่ หมู่ย่อย
ตัวอย่ำงเลขเรียกหนังสือ เช่น คู่มือจัดท างานหัตถกรรมจากไม้ไผ่ : โครงการส่งเสริมและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ / ภัทรพล สุวรรณโฉม, ธีรพล อิ่มใจ, สุรสิทธิ์ จันทรทิพย์, สุทิน สุขุม
พันธ์ (2554) จากข้อมูลดังกล่าวสามารถเขียนเลขเรียกหนังสือได้ ดังนี้
4.6 กำรก ำหนดหมวดหมู่หนังสือ หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับงานหัตกรรมที่น าไม้ไผ่มาจัดท าเป็น
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งเนื้อหาของหนังสือเล่มนี้จะมีลักษณะเนื้อหาที่ตรงกับหมวดหมู่เลข 740 ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ
งานศิลปะต่างๆ การวาดเขียน และมัณฑนศิลป์ เป็นต้น แต่ส าหรับห้องสมุดโรงเรียนสามารถก าหนดหมวดหมู่
โดยให้ก าหนดเป็นหมวดหมู่ใหญ่เพื่อความสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลา จึงก าหนดหมวดหมู่หนังสือเล่มนี้
คือ
เลขหมวดหมู่
700
หรือ 740 เลขหมวดหมู่
4.7 กำรก ำหนดให้เลขผู้แต่ง (เลขหนังสือ หรือ เลขผู้แต่ง) คือ สัญลักษณ์ประจ าตัวหนังสือแต่ละ
เล่ม ซึ่งอยู่ถัดจากเลขหมู่ประกอบด้วยอักษรตัวแรกของรายการหลัก ตัวเลขแสดงล าดับ และอักษรตัวแรกของ
ชื่อเรื่อง เพื่อแสดงให้ทราบถึงความแตกต่างของหนังสือที่อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน และเพื่อให้เกิดความแตกต่าง
ของเลขเรียกหนังสือแต่ละเล่ม ส่วนประกอบของเลขเรียกหนังสือส่วนนี้จะเรียกว่าเลขหนังสือ หรือ เลขผู้แต่ง
ขึ้นอยู่กับรายการหลักที่ปรากฏในรายการ สืบค้น เพราะตัวอักษรนั้นน ามาจากอักษรตัวแรกของรายการ
ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี