Page 17 - CPS Report 2564 new
P. 17
สรุปกิจกรรมสำคัญ/ผลงานโดดเด่นที่เกิดจากการเข้าแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/
กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
❖ การยกระดับสินค้าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ได้รับรองมาตรฐาน GI
ปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสำคัญถึงในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของสินค้า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องให้
ุ
ความสำคัญผลผลิตของสมาชิกตั้งแต่กระบวนการผลิตที่มีคณภาพ ได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้า สหกรณ์/กลุ่ม
ิ่
ิ่
เกษตรกรต้องให้ความสำคัญการยกระดับสินค้า จึงจะสามารถเพมปริมาณผลผลิต สร้างมูลค่าเพมให้กับผลผลิตได้
สามารถแข่งขันกับเอกชน ซึ่งมาตรฐานการผลิตขั้นพนฐานสินค้าเกษตรกรคือ วิธีการปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร
ื้
GAP สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรต้องแนะนำ ส่งเสริม ให้สินค้าของสมาชิกได้รับการรับรอง หากต้องการที่จะสร้าง
ี่
มูลค่าเพมให้กับสินค้า สร้างความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทมีต่อสินค้าที่สหกรณ์จำหน่าย ควรต้องมีมาตรฐานมากกว่า
ิ่
ื้
ขั้นพนฐาน ซึ่งจะส่งผลให้สินค้ามีต้นทุนที่ต่ำ มีปริมาณที่สูงขึ้น มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ ส่งผลให้จำหน่ายได้ทั้ง
ภายในประเทศและส่งออกได้ สมาชิกมีรายได้ที่เพิ่มขึ้น และเกิดความมั่นคงในอาชีพ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
การส่งเสริมในเรื่องของการยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตรจะประสบผลสำเร็จได้ เกษตรกรจะต้องเข้าใจถึง
เหตุผลที่ต้องผลิตสินค้าให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน ซึ่งตัวสมาชิกเองจะต้องสมัครใจที่จะพฒนา ไม่ใช่ถูกบังคับ
ั
จากภาครัฐ เมื่อเกิดความสมัครใจ จะกลายเป็นความพร้อมใจ ตั้งใจที่จะปรับความคิด ปรับกระบวนการผลิต
นำไปสู่การพฒนาที่เป็นรูปธรรม นโยบายรัฐควรให้ความสำคัญในเรื่องของมาตรฐานสินค้าเกษตรอย่างจริงจัง
ั
ตั้งแต่การผลิต การแปรรูป และการจำหน่าย โดยเฉพาะการจำหน่ายผลผลิตต้องเกิดความแตกต่างอย่างชัดเจน
เป้าหมาย : สมาชิกสหกรณ์ผู้ปลูกพืชผักผลไม้กันทรลักษ์ จำกัด จำนวน 62 ราย
ื
สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกพชผักผลไม้กันทรลักษ์ จำกัด มีสมาชิกทั้งหมด 313 คน ส่วนใหญ่สมาชิกสหกรณ์
ประกอบอาชีพการเกษตร ปลูกผัก ผลไม้ ได้แก่ ทุเรียน มังคุด ลำไย ยางพารา ปัจจุบันผลผลิต ทาง
การเกษตรที่สมาชิกนำมาจำหน่าย ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ทุเรียนหมอนทอง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดศรีสะ
ั
เกษร่วมกับสหกรณ์ผู้ปลูกพชผักผลไม้กนทรลักษ์ จำกัด จึงต้องการที่จะต่อยอดการยกระดับผลผลิตสมาชิกสหกรณ์โดย
ื
การขอการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ ซึ่งจะสามารถสร้างมูลค่าเพมให้กับผลผลิตของสมาชิก
ิ่
ส่งผลให้จำหน่ายผลผลิตมีราคาที่สูงขึ้น สหกรณ์จึงได้แนะนำส่งเสริมสมาชิกสหกรณ์ ในการขอการรับรองส่งบ่งชี้ทาง
ภูมิศาสตร์ GI เนื่องจากทุเรียนเป็นพชเศรษฐกิจระดับต้นๆ ของจังหวัดศรีสะเกษ ที่มีราคาจำหน่ายที่สูงเมื่อเทียบกับ
ื
ื้
ื่
ุ้
ื้
ผลผลิตจากแหล่งอน พนที่ปลูกของสมาชิกเป็นพนที่อยู่ในประกาศให้ขึ้นทะเบียนความคมครอง หากสมาชิกได้การ
รับรองมาตรฐานดังกล่าว จะส่งผลให้ผลผลิตของสมาชิกมีมูลค่าเพมและมีคุณภาพ จึงร่วมกับสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
ิ่
ศรีสะเกษ ดำเนินการพฒนาผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์ให้ได้การรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ GI ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะ
ั
เกษ สมาชิกสหกรณ์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน GAP ปี 2563 จำนวน 64 ราย ขอสมัครเข้าร่วมการขอการรับรองสิ่ง
บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ GI ปี 2564 จำนวน 61 ราย
ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) :
ร้อยละ 60 ของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP (37 ราย)
รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) :
ื่
สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯเพอให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน GI (36 ราย) ทุเรียนจาก
คณะทำงานพิจารณาขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ทุเรียนภูเขาไฟศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ
เกณฑ์การประเมิน/การคำนวณ (ระบุวิธีการที่จะใช้ประมวลผลความสำเร็จของตัวชี้วัดที่กำหนด)
- คัดเลือกสมาชิกผู้ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ โดยวิธีการรับสมัคร
- ดำเนินการตามขั้นตอนของการประเมิน
Template รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 10 | ห น้ า
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร