Page 15 - EBOOK-TRON_2018
P. 15

ส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 เป็นการศึกษาผลของกระบวนการที่ใช้ในการผลิตน้ำามันชีวภาพต่อปริมาณและคุณภาพของ  จุดเด่น
 น้ำามันชีวภาพ ขณะที่ส่วนที่ 3 จะเป็นการศึกษากระบวนการที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำามันชีวภาพผ่าน

 ปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจิเนชันเพื่อลดปริมาณสารประกอบออกซิเจนในน้ำามันชีวภาพ  • ได้เครื่องปฏิกรณ์ไพโรไลซิสชนิดใหม่ โดยมีการให้ความร้อนด้วยตัวเอง และมีการหมุนเวียนตัวเร่งปฏิกิริยา
            มาใช้ใหม่เพื่อผลิตน้ำามันชีวภาพ


 นอกจากในส่วนของการทดลองในห้องปฏิบัติการแล้ว ยังมีศูนย์เชื้อเพลิงและพลังงานจากชีวมวล(Center of Fuels   • ได้กระบวนการและภาวะเพื่อใช้ในการผลิตน้ำามันชีวภาพด้วยระบบไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน
 and Energy from Biomass) คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ซึ่งรองรับ  • ได้องค์ประกอบของตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมสำาหรับกระบวนการไฮโดรดีออกซิจิเนชัน สามารถนำามาใช้

 งานวิจัยด้านพลังงานในระดับขยายส่วนจากภาคอุตสาหกรรม ประกอบด้วยหน่วยปฏิบัติการผลิตเชื้อเพลิงแข็ง  ในการปรับปรุงคุณภาพของน้ำามันชีวภาพได้จริง

 จากชีวมวลเหลือทิ้ง (ถ่านอัดแท่งไร้ควัน) และถ่านกัมมันต์ (Unit operation of briquette charcoal and activated   • มีระบ บและเครื่องมือที่มีความพร้อมในการรองรับงานวิจัยด้านเชื้อเพลิงและพลังงานสำาหรับภาคอุตสาหกรรม

 carbon) และหน่วยการผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากขยะพลาสติกและของเหลือทิ้งจากน้ำามันพืช  ในรูปแบบของแข็ง ของเหลว และแก๊ส



 ผลของตัวสนับสนุนต่อไฮโดรดีออกซิจิเนชั่น
 ของกวัยอะคอลและน้ำ�มันชีวภ�พ

            เครื่องปฏิกรณ์ไพโรไลซิสแบบเร็วโดยมีก�รให้คว�มร้อน
            ด้วยตัวเอง และมีก�รหมุนเวียนตัวเร่งปฏิกิริย�ม�ใช้ใหม่                                      ก�รนำ�ผลง�นวิจัยไปใช้ประโยชน์

            เพื่อผลิตน้ำ�มันชีวภ�พ
                                                                                                      • การนำาเสนอผลงานทางวิชาการ

                                                                                                      • การสาธิตและบริการวิชาการให้กับภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ได้แก่
                                                                                                        1. บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำากัด (มหาชน)

                                                                                                        2. บริษัทอยุธยาพลังงานสะอาด จำากัด

                                                                                                        3. บริษัท นอร์ทเทิร์น รีนิวเอเบิลเอนเนจี้ จำากัด
                                                                                                        4. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

                                                                                                        5. สำานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

                                                                                                        6. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

                                                                                                        7. บริษัท ไทยแลนด์แอนทราไซด์ จำากัด

                                                                                                        8. บริษัท อีสเทิร์นเอนเนอจี้พลัส จำากัด


 ไฮโดรเทอร์มัลลิคควิแฟคชั่น
 เพื่อก�รผลิตน้ำ�มันชีวภ�พ

 คุณภ�พสูง














 วัตถุประสงค์



 • เพื่อออกแบบและพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์ไพโรไลซิสชนิดใหม่ โดยมีการให้ความร้อนด้วยตัวเอง และมีการ  ประกอบออกซิเจนผ่านปฏิกิริยาไฮโดรดีออกซิจิเนชั่น
 หมุนเวียนตัวเร่งปฏิกิริยามาใช้ใหม่เพื่อผลิตน้ำามันชีวภาพ รวมถึงการหาภาวะที่เหมาะสมสำาหรับผลิตน้ำามัน  ของน้ำามันชีวภาพ รวมถึงผลของพารามิเตอร์ ได้แก่

 ชีวภาพโดยการศึกษาตัวแปรด้านชีวมวล (ชนิด ขนาดอนุภาค และอัตราการป้อน) และด้านกระบวนการผลิต   ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา ความดันแก๊ไฮโดรเจน อุณหภูมิ

 (อุณหภูมิไพโรไลซิส อัตราการไหลของแก๊สไนโตรเจน อุณหภูมิการเร่งปฏิกิริยา ชนิดของตัวเร่งปฏิกิริยา และ  และเวลาที่ใช้ในการทำาปฏิกิริยาต่อประสิทธิภาพของ
 อัตราส่วนของตัวเร่งปฏิกิริยา/ชีวมวล)   การไฮโดรดีออกซิจิเนชัน และการสะสมคาร์บอน                               ศูนย์เชื้อเพลิงและพลังงานจากชีวมวล

 • เพื่อศึกษาผลกระทบของแร่ธาตุในใบอ้อยต่อการผลิตน้ำามันดิบชีวภาพจากไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน และ  บนพื้นผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา  (Center of Fuels and Energy from Biomass)
                                                                                                               คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย
 การปรับสภาพเบื้องต้นของใบอ้อยด้วยไฮโดรเทอร์มัลต่อปริมาณผลได้และคุณภาพของน้ำามันดิบชีวภาพที่ผลิตได้  • เพื่อศึกษาภาวะที่เหมาะสมการไพโรไลซิสเชิงเร่ง  อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

 • เพื่อศึกษาผลของตัวสนับสนุนของตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล-โมลิบดินัมต่อการสะสมคาร์บอนและการลดสาร  ปฏิกิริยาของหญ้าเนเปียร์ด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาฐาน

 คาร์บอนที่เตรียมจากการไพโรไลซิสของหญ้าเนเปียร์




 มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561  |  14                                                                                                            15  |  Thailand Research Expo 2018
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20