Page 25 - Demo
P. 25
แนวทางการแก้ปัญหา
ด้วยปัญหาเชิงระบบ 4 ประการหลักที่กล่าวมา ประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับควรมีการเปลี่ยนแปลงบนพื้นฐานของหลักการประกันภัย และความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นเป้าหมายด้านความสมดุล แห่งผลประโยชน์ระหว่างประชาชนและบริษัทประกันภัยเป็นหลัก อันจะเป็นอานิสงส์ก่อให้เกิดความยั่งยืนของระบบประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับในระยะยาว สาหรับการประกันวินาศภัยนั้น ความสมดุลแห่ง ผลประโยชน์จะเกิดขึ้น ณ จุดที่
1. ประชาชนไดร้ บั ความคมุ้ ครองในระดบั ทเี่ หมาะสมตอ่ ความเสยี หาย 2. ระดับเบ้ียประกันภัยอยู่ภายในอานาจซ้ือของประชาชน
3. อัตราเบี้ยประกันภัยเพียงพอต่อการดาเนินธุรกิจของบริษัท
ประกันภัย
1
ประเภทความคุ้มครองและทุนประกันภัยควรแยกตามประเภทความเสียหายจริง
โดยทั่วไปความเสียหายท่ีเกิดขึ้นต่อบุคคลเม่ือประสบอุบัติเหตุ สามารถแบ่งเป็นหมวดหมู่ได้ดังรูปท่ี 4 รูปท่ี 4 ประเภทความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อผู้ประสบภัย
สานักงานอัตราเบี้ยประกันวินาศภัยจึงขอใช้สถิติเพื่อเสนอแนวทาง ในการปรับปรุงการประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับให้เข้าสู่จุดสมดุลแห่ง ผลประโยชน์ระหว่างประชาชนและบริษัทประกันภัย ดังนี้
หน่วยงานที่มีอานาจควรจัดต้ังและมอบหมายคณะทางานที่ชัดเจน ให้มีการทบทวนระดับความคุ้มครองและอัตราเบ้ียประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับเป็นประจาทุกปี โดยมีวิธีการและหลักเกณฑ์ที่แน่ชัดในการ ปรับปรุงทุนและเบี้ยประกันภัย เพื่อคงความสมดุลแห่งผลประโยชน์ไว้ ได้ในทุก ๆ ปี โดยมีหลักการพิจารณาและปรับปรุง ดังน้ี
วิชาการ IPRB
ความคุ้มครองและทุนประกันภัย
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าชดเชยรายได้ กรณีขาดงาน เนื่องจากพักรักษาตัว
ค่าใช้จ่ายโดยตรง
ค่าประกอบพิธีศพ
ความเสียหาย ที่วัดเป็นมูลค่าได้
ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ค่าชดเชยรายได้ ที่สูญเสีย กรณีเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร
ความเสียหายต่อผู้ประสบภัย
ความเสียหายสืบเนื่อง
ค่าชดเชยรายได้ที่ลดลง กรณีสูญเสีย สมรรถภาพในการทางาน
ความเสียหาย ที่วัดเป็นมูลค่าไม่ได้
ค่าปลอบขวัญ
วารสารประกันภัย ฉบับท่ี 147 25