Page 28 - Demo
P. 28

วิชาการ IPRB
• กลไกนี้จะช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุได้โดยตรง เนื่องจากจะทาให้ ผขู้ บั ขต่ี ระหนกั ไดว้ า่ ตนมสี ว่ นรว่ มในการกา หนดอตั ราเบย้ี ประกนั ภยั หากตน ขบั ขอี่ ยา่ งปลอดภยั จะเปน็ สว่ นหนงึ่ ทช่ี ว่ ยใหเ้ บยี้ ประกนั ภยั ในปตี อ่ ไปลดลง
• เพิ่มความโปร่งใสและความน่าเช่ือถือให้แก่อุตสาหกรรมประกันภัย ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้อุตสาหกรรมเติบโตอย่างยั่งยืน และส่งผลดี ต่ออุปสงค์ของการประกันภัยในระยะยาว
เบ้ียประกันภัยควรสอดคล้องกับกาลังซื้อของผู้เอาประกันภัย
แม้ว่าเง่ือนไขท่ีสาคัญที่สุดในการกาหนดอัตราเบ้ียประกันภัยนั้นคือ การประมาณการตามตน้ ทนุ จรงิ ณ ระดบั ทนุ ประกนั ภยั หนง่ึ ๆ แตร่ ะดบั ทนุ ประกันภัยท่ีสามารถกาหนดได้หลากหลาย ก็ส่งผลให้ระดับเบี้ยประกันภัย
นั้นสูงต่าหลากหลายเช่นกัน แล้วทุนประกันภัยระดับใดคือระดับ ความคุ้มครองท่ีเหมาะสม
เนื่องจากระดับความคุ้มครองที่เพ่ิมข้ึนจะส่งผลให้เบ้ียประกันภัย เพิ่มข้ึน แต่เบี้ยประกันภัยที่สูงเกินไป จะทาให้ประชาชนไม่สามารถซื้อ ประกันภัยได้ และระดับความคุ้มครองที่ต่าเกินไป จะทาให้ผู้ประสบภัย ได้รับการชดเชยที่ไม่เพียงพอ และทาให้ภาระทางการเงินตกไปอยู่ที่ ผู้เอาประกันภัยเป็นอย่างมาก ดังนั้นระดับรายได้ควรเป็นส่วนหน่ึง ในการพจิ ารณาระดบั ความคมุ้ ครองและอตั ราเบยี้ ประกนั ภยั ของประกนั ภยั พ.ร.บ. เพ่ือสร้างความสมดุลของความสามารถในการซ้ือประกันภัย และความเพียงพอในการชดเชย หรือสมดุลแห่งผลประโยชน์ของฝั่ง ผู้เอาประกันน่ันเอง ดังที่แสดงให้เห็นดังรูปที่ 5
รูปท่ี 5 หลักการกาหนดอัตราเบี้ยประกันภัย ภายใต้ความสมดุลของระดับรายได้
ระดับความคุ้มครอง
× โอกาสเกิดเหตุ + ค่าใช้จ่าย
เบี้ยประกันภัย
ความเพียงพอ ในการชดเชย
ความสามารถ ในการซื้อ
จากรูปท่ี 5 จะสามารถสร้างเกณฑ์ข้อจากัดสาหรับการกาหนดอัตรา เบี้ยประกันภัย พ.ร.บ. ครั้งหนึ่ง ๆ ได้ ดังนี้
• เบ้ียประกันภัยต้องเท่ากับต้นทุนความเสียหายคาดหวัง ณ ระดับ ทุนประกันภัยหน่ึง ๆ บวกค่าเผ่ือความเสี่ยงและค่าใช้จ่ายคาดหวัง
• สัดส่วนของทุนประกันภัยต่อความเสียหายจริงต้องไม่น้อยกว่า สัดส่วนท่ีกาหนด สาหรับความคุ้มครองหนึ่ง ๆ เช่น สัดส่วนของทุนประกัน ค า่ ช ด เ ช ย ก ร ณ เี ส ยี ช วี ติ ต อ่ ค ว า ม เ ส ยี ห า ย จ ร งิ เ ฉ ล ยี ่ ( ร า ย ไ ด ร้ า ย ป ี ค ณู อ า ย ขุ ยั แรงงาน) ต้องไม่น้อยกว่า 20% เป็นต้น
• สัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อรายได้เฉลี่ย หรือสัดส่วนเบ้ียประกันภัย ต่ออัตราค่าจ้างข้ันต่า ไม่ควรเกินสัดส่วนท่ีกาหนด
ด้วยหลักการข้อจากัดท่ีกล่าวมาข้างต้น หากพิจารณาตามสภาพ เศรษฐกิจและอัตราการเกิดอุบัติเหตุท่ีเปล่ียนแปลงไป เมื่ออัตราเงินเฟ้อ สูง (รายได้และค่าชดเชยโดยเฉล่ียเพ่ิมสูงข้ึน) ก็ควรมีการปรับทุนและเบี้ย ประกันภัยให้สูงข้ึนตามไปด้วย หากอัตราเงินเฟ้อต่า สามารถคงระดับทุน ประกันภัยในระดับที่เพียงพอเท่าเดิมได้ แต่หากความเสี่ยงในการเกิด อุบัติเหตุเพิ่มข้ึน ก็ต้องปรับเบี้ยประกันภัยเพิ่มขึ้น และในทางกลับกัน หากความเสี่ยงลดลงก็ต้องปรับลดเบี้ยประกันภัยลง อย่างไรก็ดี ในกรณ ี ท่ีอัตราเงินเฟ้อและความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มสูงพร้อม ๆ กันนั้น ควรพิจารณาคงทุนประกันภัยให้เท่าเดิมไว้ เพื่อควบคุมเบ้ียประกันภัย ไม่ให้เพ่ิมในอัตราที่สูงเกินระดับรายได้ที่สูงขึ้น ดังน้ันในระยะยาวสามารถ สรุปนโยบายการปรับปรุงระดับความคุ้มครองและอัตราเบี้ยประกันภัย ได้ดังตารางที่ 4
28 วารสารประกันภัย ฉบับท่ี 147
ระดับรายได้


































































































   26   27   28   29   30