Page 29 - Demo
P. 29
ตารางที่ 4 แนวทางการปรับปรุงระดับความคุ้มครองและอัตราเบี้ยประกันภัยในระยะยาว
วิชาการ IPRB
สภาพที่เปลี่ยนแปลง
อัตราเงินเฟ้อสูง
อัตราเงินเฟ้อต่า
อัตราการเกิดอุบัติเหตุ เพิ่มขึ้น
ทุนประกัน: คง เบี้ยประกัน: เพิ่ม
ทุนประกัน: คง เบี้ยประกัน: เพิ่ม
อัตราการเกิดอุบัติเหตุ ลดลง
ทุนประกัน: เพิ่ม เบี้ยประกัน: คง/ลด
ทุนประกัน: คง เบี้ยประกัน: ลด
ยกตัวอย่างเช่น กรณีประกันภัย พ.ร.บ. สาหรับรถจักรยานยนต์น้ัน นอกจากท่ีแสดงในรูปที่ 3 แล้วว่าเบี้ยประกันภัยไม่เพียงพอแม้แต่จะจ่าย ค่าสินไหมทดแทนท่ีเกิดข้ึน ส่งผลให้บริษัทประกันภัยต้องแบกรับภาระ ขาดทุนจากการรับประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ อันขัดแย้งกับ
เง่ือนไขการกาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยเบื้องต้นที่ต้องทาให้สัมฤทธิ์ ไม่เพียงเท่านี้ ปัจจัยอื่น ๆ ก็แสดงให้เห็นว่าเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ. สาหรับ รถจักรยานยนต์ ไม่ได้รับการทบทวนปรับปรุงให้เหมาะสมต่อกาลังซื้อของ ผู้เอาประกันภัยท่ีมากขึ้นด้วย ดังที่แสดงให้เห็นในรูปท่ี 6
รูป 6 ดัชนีด้านรายได้3 และเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ ปี 2550-2562
มูลค่าดัชนี 250% 200% 150% 100%
50% 0%
215%
144% 120%
ดัชนีอัตราค่าจ้าง ขั้นต่าต่อวัน
ดัชนีรายได้ ครัวเรือนเฉล่ีย
ดัชนีราคาผู้บริโภค
2550 2552 2554 2556 2558
100% ดัชนีเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ.รถจักรยานยนต์
2560 2562 ปีพ.ศ.
มากกว่าในช่วง 10 ปีก่อน น่ันแสดงให้เห็นว่าการคงเบ้ียประกันภัย พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ในภาวะทบี่ริษัทประกนัภยัขาดทนุและกาลงัซื้อของผ้เูอา ประกันภัยเพิ่มขึ้น จึงไม่ส่งผลดีต่อความสมดุลและความยั่งยืนของระบบ ประกันภัย เนื่องจากอัตราเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ. มิได้รับการปรับปรุง อย่างเหมาะสมและเป็นปัจจุบัน
สาหรับดัชนีทั้ง 4 ค่าในรูปท่ี 6 น้ัน ได้ใช้มูลค่าของปี 2550 เป็น ปีฐานจะเห็นได้ว่าตั้งแต่ปี2550จนถึงปี2562เบ้ียประกันภัยพ.ร.บ. สาหรับรถจักรยานยนต์มิได้มีการเปลี่ยนแปลงเลย ในขณะที่อัตราค่าจ้าง ขั้นต่าต่อวันเพิ่มขึ้นกว่าหน่ึงเท่าตัว และส่งผลให้รายได้ครัวเรือนเฉล่ีย สูงขึ้นกว่า 44% แต่ดัชนีราคาผู้บริโภคเพิ่มมาเพียง 20% ในช่วงระยะ เวลาเดียวกัน หมายความว่าปัจจุบันประชาชนโดยเฉล่ียมีกาลังซ้ือเพิ่ม
3 อ้างอิง สานักงานสถิติแห่งชาติ, กระทรวงแรงงาน, กระทรวงพาณิชย์
วารสารประกันภัย ฉบับท่ี 147 29