Page 31 - Demo
P. 31
พลิกโฉมธุรกิจประกัน กับ IFRS17 (ตอนท่ี 4)
โดย ทอมมี่ (พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน) นายกสมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย และ กรรมการผู้จัดการบริษัท แอคชัวเรียล บิสซิเนส โซลูช่ัน จากัด (ABS)
สาหรับบทความ พลิกโฉมธุรกิจประกันกับ IFRS17
น้ันเดินทางมาถึงตอนที่ 4 ซึ่งเป็นตอนจบแล้วในฉบับนี้ เรามาดูเรื่องที่ ยังมีคน “สับสน” และ “สงสัย” กันครับว่า “มี IFRS17 แล้วต้องมี RBC อีกหรือไม่?” และ “ความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง IFRS17 กับ VoNB/VIF” คืออะไร?
มี IFRS17 แล้วต้องมี RBC อีกหรือไม่?
เราอย่าเพิ่งสับสนระหว่าง IFRS17 (International Financial Reporting Standard 17) กับ RBC (Risk Based Capital) เพราะ วัตถุประสงค์ของแต่ละตัวนั้นแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง โดย IFRS17 นั้นเป็น มาตรฐานรายงานทางการเงินท่ีเอาไว้ใช้กับงบการเงิน ซึ่งจะกระทบกับ งบกาไรขาดทุนและงบดุล รวมถึงหมายเหตุประกอบงบด้วย แต่สาหรับ RBC แล้วเป็นการคานวณความสามารถในการชาระหนี้ได้ในอนาคต ซ่ึงภาษาทั่วไปเรียกกันว่า Solvency Ratio และถ้าให้เจาะจงสาหรับ RBC แล้วจะถูกเรียกว่า Capital Adequacy Ratio (CAR) นั่นเอง ซ่ึงการคานวณ RBC น้ันจะมุ่งเน้นไปท่ีงบดุลเป็นหลัก
IFRS17 ต้องการท่ีจะสะท้อนผลประกอบการบริษัทลงในงบการเงิน ส่วน RBC ต้องการสะท้อนความสามารถในการชาระหน้ีของบริษัท (มีเงิน จ่ายผลประโยชน์คืนให้กับผู้ถือกรมธรรม์)
ผลลัพธ์ท่ีได้ของ IFRS17 คือ งบการเงินตามมาตรฐานบัญชีสากล ส่วนผลลัพธ์ของ RBC คือ Capital Adequacy Ratio (CAR) ตาม พ.ร.บ. ประกันชีวิต และ พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย
ผู้ท่ีอยู่ในคณะทางานหลักของ IFRS17 จะมาจาก สภาวิชาชีพบัญชี สว่ นผทู้ อ่ี ยใู่ นคณะทา งานหลกั ของ RBC คอื สา นกั งาน คปภ. อยา่ งไรกต็ าม ทางสานักงาน คปภ. ก็ไม่ได้นิ่งนอนใจ และก็กาลังจะตั้งคณะทางานข้ึนมา ศึกษาผลกระทบของ IFRS17 เช่นกัน
รอบรู้ประกันภัย
ตารางเปรียบเทียบ
IFRS17
RBC
มุ่งเน้นไปที่ไหน
งบกาไรขาดทุน งบดุล และหมายเหตุประกอบงบ
งบดุลแบบราคาประเมิน
สะท้อนอะไร
สะท้อนผลประกอบการบริษัทลงในงบการเงิน
สะท้อนความสามารถในการชาระหนี้ของ บริษัท (มีเงินจ่ายคืนให้กับผู้ถือกรมธรรม์)
ผลลัพธ์ที่ได้
งบการเงินตามมาตรฐานบัญชีสากล
Capital Adequacy Ratio (CAR) ตาม พ.ร.บ. ประกันชีวิต
และ พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย
ผู้กากับดูแลหลัก
สภาวิชาชีพบัญชี
สานักงาน คปภ.
วารสารประกันภัย ฉบับท่ี 147 31