Page 146 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 146

142
พอมีกาลังมากขึ้น ก็ไม่รบกวน พอไม่รบกวนแล้วทาอย่างไร ? ไม่รบกวน แล้วแต่ยังไม่เข้าใจ/ยังไม่สรุปสิ่งที่เกิดขึ้น ทาอย่างไร ? ก็ทาใจให้กว้าง ๆ แล้วมองอย่างไม่มีตัวตน พิจารณาทาความเข้าใจสิ่งนั้น พิจารณาด้วยเหตุ ปัจจัยของสภาวะนั้นจริง ๆ ว่าธรรมชาติของสิ่งนั้นเป็นอย่างไร
ถา้ เราพจิ ารณาแบบนี้ จะมสี ภาวะทคี่ คู่ วรกนั ควบคกู่ นั ไป ทงั้ เขา้ ใจ- เข้าถึง ถ้าเข้าถึง เข้าใจ ก็พัฒนาได้เร็ว ถ้าเข้าถึง แต่ไม่เข้าใจ ก็อาจจะช้า ถ้าเข้าใจแต่เข้าไม่ถึง ก็ยังช้าเหมือนเดิม แต่ถ้าเราเข้าถึง รู้วิธีการ เข้าใจ สภาวธรรมตามหลงั ยงั ได้ แตก่ ารเขา้ ถงึ ไดเ้ รว็ เทา่ ไหรย่ งิ่ ด.ี .. เขา้ ถงึ สจั ธรรม ตรงไหน ? เขา้ ถงึ อาการพระไตรลกั ษณ—์ เหน็ การเปลยี่ นแปลง เหน็ อาการ เกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ มีความเปลี่ยนแปลงไป จิตยิ่งเห็นชัดเท่าไหร่ เมื่อทาความเข้าใจ ก็จะเข้าใจมากขึ้นเท่านั้น เพราะยิ่งชัดยิ่งเข้าใจง่าย ถ้า ไมช่ ดั กเ็ ขา้ ใจยาก นเี่ ปน็ เรอื่ งปกตธิ รรมดาเลย ถา้ เราเหน็ ชดั ๆ เหมอื นเหน็ ด้วยตาเรา/ด้วยตาปัญญา เราก็จะเข้าใจง่าย ถ้าไม่ชัด คลุมเครือเมื่อไหร่ เราจะตัดสินอารมณ์ยาก
ตรงไหนที่เข้าใจยาก ? เพราะเราไม่มั่นใจ ตัดสินอะไร สรุปอะไร ไม่ได้ เพราะความไม่ชัดเจน แต่ถ้าสติเรารู้ชัด เราเห็นชัด เหมือนเราลืมตา รู้ชัดเจน เหมือนเห็นอะไรตอนกลางวัน ไม่คลุมเครือ เห็นชัดถึงสิ่งไม่ชัด เรากส็ รปุ ไดว้ า่ มนั ไมช่ ดั พอสรปุ ไดว้ า่ ไมช่ ดั กย็ งั จบได้ เพราะ “สรปุ ได”้ วา่ ไมช่ ดั อะไรไมช่ ดั ? อาการไมช่ ดั สภาพจติ ไมช่ ดั ... ยงั ไมช่ ดั แลว้ ทา อยา่ งไร ? กต็ อ้ งพจิ ารณาตอ่ ไป ใชเ้ วลากต็ อ้ งใชเ้ วลา พจิ ารณาสงั เกตใหม้ ากขนึ้ ตงั้ ใจ มากขึ้น พอกาลังมากขึ้นก็ชัดเองโดยปริยาย ด้วยเหตุปัจจัยของเขา นี่คือ การพิจารณาธรรม เพราะฉะนั้น การที่เราได้บาเพ็ญเพียรปฏิบัติธรรมมา การพัฒนาจิตของเรา ก็ต้องพิจารณาสภาวธรรมตรงนี้


































































































   144   145   146   147   148