Page 147 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 147

ทนี ี้ การเหน็ ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นนอี่ าจารยพ์ ดู กวา้ ง ๆ เปน็ สภาว ธรรมเบื้องต้น แต่วิธีพิจารณาให้กว้างขึ้น ให้พิจารณากับทุก ๆ อารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นรูปของเรา รูปของคนอื่น รูปอื่นที่ต่างจากรูปของเรา พิจารณา ดูว่ารูปต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นที่เป็นไปตามเหตุปัจจัยนั้นเป็นอย่างไร ในขณะที่ เราพิจารณารูปที่นั่งอยู่นี่ เป็นแค่เพียงรูป ๆ หนึ่ง และเมื่อจิตยิ่งแยกชัด/ ยิ่งเห็นชัด แม้รูปที่นั่งอยู่ยังโปร่ง ว่างเปล่า ไม่บอกว่าเป็นใคร แล้วรูปข้าง นอกบอกว่าเป็นเขา-เป็นเรา-เป็นใคร ? คาว่า “เขา เรา ใคร” คือการสมมติ เขาเรียก “สมมติสัจจะ” สมมติขึ้นมาเพื่อการสื่อสาร การรับรู้ถึงการแบ่ง แยกถึงความแตกต่างอย่างหนึ่ง
แตส่ ภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ทแี่ บง่ แยกกค็ อื วา่ การกระทา คอื กรรมตา่ ง ๆ นั้น เขาเรียกว่ากรรมจาแนกสัตว์ การกระทาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเป็นตัวบ่ง บอกถึงความแตกต่างของคนเรา—ทาแบบไหน คิดอย่างไร พูดอย่างไร จะมีความแตกต่างไปตามกรรม แต่รูปก็คือรูป มีความเปลี่ยนแปลง เป็น ไปตามเหตุปัจจัยอยู่เสมอเป็นปกติ นี่คือสัจธรรม เพราะฉะนั้น การเห็น อย่างนี้เป็นแนวทางที่จะทาให้เราออกจากทุกข์ได้ เราเห็นสัจธรรมข้อนี้ อย่างหนึ่งในเบื้องต้นเป็นการพิสูจน์ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมา- สัมพุทธเจ้า แล้วธรรมะที่ละเอียดขึ้นต่อไป ธรรมะที่พิเศษต่อไปที่พิสดาร ต่อไป ที่เรายังไม่เห็นยังมีอีกมากมาย เป็นเรื่องที่น่าค้นหาไหม ?
หรือการทาให้สติ สมาธิ ปัญญาแก่กล้าขึ้น เห็นสัจธรรมละเอียด ขนึ้ การพฒั นาจติ ของตนเองใหม้ ากขนึ้ เพอื่ ขดั เกลาสงิ่ ทคี่ รอบงา จติ ใจของ เราทที่ า ใหเ้ ราเปน็ ทกุ ขอ์ ยนู่ นั้ ชา ระออกไป ทา ใจของเราใหอ้ สิ ระขนึ้ เราควร จะเดินหน้าต่อไปมากน้อยแค่ไหน ? นี่เป็นสิ่งที่เราควรพิจารณา ซึ่งเรียก ว่าการดาริชอบ ดาริที่ถูกต้อง การดาริชอบ ตั้งเจตนาชอบนั้น ที่ชอบเป็น
143


































































































   145   146   147   148   149