Page 19 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 19

ทีนี้ เมื่อเห็นระหว่างจิตกับกายแยกส่วนกัน สิ่งที่เราพึงพิจารณาเพื่อได้ เห็นสัจธรรมตามความเป็นจริงในสิ่งที่พระองค์ตรัสเอาไว้ คือรูปนามอันนี้ เป็นอนัตตา ก็สังเกตดูว่า เมื่อเราเห็นว่ากายกับจิตแยกส่วนกัน ถามว่า จิตที่ว่าง ๆ เบา ๆ เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? ตัวที่นั่งอยู่ในที่ว่าง ๆ เบา ๆ เขาบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ? การตั้งคาถามแบบนี้กับตนเอง เราจะได้ พิจารณาตามความเป็นจริง ไม่ใช่บอกว่า คิดว่าไม่ใช่เรา คิดว่าไม่เป็น ของเรา แต่จะเป็นคาตอบที่เกิดขึ้นมาชัดด้วยความรู้สึกเรา ด้วยเห็นความ เป็นจริงว่า จริง ๆ แล้วมีเราหรือไม่มีเรา หรือจริง ๆ แล้วเขาไม่ได้บอกว่า เป็นใครเลย จิตที่ว่างจิตที่เบาก็ไม่บอกว่าเป็นเรา รูปที่นั่งอยู่ตัวที่นั่งอยู่ก็ ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา
เมอื่ เหน็ ตรงนเี้ รยี กวา่ อะไร ? นแี่ หละคอื สมั มาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ หรอื ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ ง ความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ งสง่ ผลอยา่ งไร ? เมอื่ เราไดเ้ หน็ ตามความเป็นจริง ได้เห็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว จิตจะคลายจากอุปาทาน เขา ไมห่ ลง ไมเ่ ขา้ ไปยดึ เอารปู นามนวี้ า่ เปน็ ของเราอกี เพราะฉะนนั้ นคี่ อื ธรรมะ อย่างหนึ่งที่พระพุทธองค์ทรงได้เห็น แล้วนามาแสดงให้กับสาวกทั้งหลาย ได้รับรู้ ที่เรียกว่า “ความเป็นอนัตตาของรูปนาม” แม้จิตเป็นอนัตตา แต่ก็ สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ เพราะอะไร ?
การที่ทาจิตของเราให้ว่างจากตัวตน เราจะใช้งานได้ดี ลองสังเกต ดูสิว่า จิตที่ว่างจากตัวตน ไม่มีเรา เวลารับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจแล้ว รู้สึกอย่างไร ? การที่ใช้จิตที่ว่าง ๆ จิตที่สะอาด จิตที่ปราศจากอกุศล ปราศจากตัวตน ในการรับรู้อารมณ์ที่เข้ามากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ลองดูว่า ผัสสะที่เกิดขึ้น ทาให้จิตเป็นอกุศล ได้หรือไม่ ในขณะที่รับรู้อย่างไม่มีตัวตน ? เพราะฉะนั้น นี่คือเราจะเห็น
15


































































































   17   18   19   20   21