Page 253 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 253

พิจารณาเห็นเป็นคนละส่วนกันระหว่างเวทนากับจิต เวทนานั้นบอกว่า เปน็ เราไหม จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ บู้ อกวา่ เปน็ เราไหม ? ตรงนเี้ ปน็ การพจิ ารณาถงึ ค ว า ม เ ป น็ อ น ตั ต า ท า ไ ม พ ร ะ พ ทุ ธ เ จ า้ จ งึ ต ร สั ว า่ เ ว ท น า เ ป น็ อ น ตั ต า ว ญิ ญ า ณ เป็นอนัตตา ? เราจึงพิจารณาตามคาสอนของพระองค์เพื่อจะได้เห็นชัด ประจักษ์แจ้งด้วยตัวเอง เพื่อความมั่นใจ เพื่อความแน่วแน่ เพื่อความ เชื่อมั่น ไม่ได้เชื่อตาม ๆ กันมา แต่เชื่อจากการเห็นด้วยสติ สมาธิ ด้วย ปัญญาที่แก่กล้า
และเมื่อเห็นชัดถึงความเป็นจริงแบบนี้แล้ว ควรหรือที่จะยึดว่า เวทนานั้นเป็นของเรา ควรหรือที่จะยึดเอาวิญญาณรู้หรือจิตที่ทาหน้าที่รู้ มาเป็นของเรา ? นั่นคือการพิจารณาความจริง เมื่อเห็นความจริงอย่างนี้ ผลทตี่ ามมากค็ อื สภาพจติ ใจทเี่ กดิ ขนึ้ ทบี่ อกวา่ ทา อยา่ งไรจติ จงึ จะขาวรอบ จติ จะขาวรอบตอ้ งประกอบดว้ ยปญั ญาทพี่ จิ ารณาถงึ สจั ธรรมความเปน็ จรงิ ที่เกิดขึ้น เมื่อประจักษ์แจ้งด้วยตาปัญญาตนเองว่าเวทนาที่เกิดขึ้นมานั้น ไม่ใช่เรา เป็นแค่อาการเวทนาที่อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้นมา มีผัสสะเกิดขึ้น เวทนาก็เกิดขี้น เวทนาที่เกิดขึ้นแล้วนั้นตั้งอยู่อย่างนั้นตลอดไปได้หรือไม่ หรือเกิดขึ้นแล้วเดี๋ยวก็ดับไปหายไป เดี๋ยวก็เกิดขึ้นใหม่แล้วก็ดับไป นั่น คือทุกขลักษณะของเวทนาเอง เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป ไม่มีอะไรที่ไม่ดับ
เพราะฉะนั้น เมื่อมีเวทนาเกิดขึ้นมา ทาอย่างไรถึงจะไม่ทุกข์กับ เวทนานั้น หรือไม่ให้เวทนานั้นบีบคั้นจิตใจจนเกินไป ? การที่พิจารณาถึง ความเปน็ คนละสว่ นระหวา่ งจติ ทที่ า หนา้ ทรี่ กู้ บั เวทนานแี่ หละเปน็ สงิ่ สา คญั ในการพจิ ารณาเพอื่ การละการคลายอปุ าทาน ไมใ่ หเ้ ขา้ ไปหลงผดิ ไปยดึ เอา เวทนาว่าเป็นของเรา เวทนาเป็นเรา เราเป็นเวทนา การคลายอุปาทานแบบ นเี้ ปน็ วธิ กี ารทจี่ ะดบั ทกุ ขไ์ ดเ้ รว็ ทา ใหค้ วามทกุ ขน์ นั้ ตงั้ อยไู่ มไ่ ด้ สภาวธรรม
249


































































































   251   252   253   254   255