Page 63 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 63

เพียงแต่ว่าถ้าเป็นสามัญสติ คือรับรู้ทั่วไป เหมือนเรารู้ว่าเดิน รู้ว่านั่ง รู้ว่า พูด รู้ว่าคุย รู้ว่าคิด นี่คือสามัญสติ รู้ธรรมดา รู้เรื่องทั่ว ๆ ไป สติทั่วไป แต่สติที่พิเศษออกไปเพื่อการป้องกันเวทนา ป้องกันความทุกข์ ป้องกัน อกุศล ป้องกันตัวเองไม่ให้ไหลตามอารมณ์เหล่านั้น ก็คือโลกุตตรสติ สติ ที่พ้นจากโลก หรือสติที่ไม่ประกอบด้วยตัวตน มีสติอย่างไม่มีตัวตน เมื่อ ไหร่ก็ตามที่มีสติ และเห็นชัดถึงความไม่มีตัวตน อกุศลไม่เกิด โลภะไม่มี โมหะไม่ปรากฏ โทสะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เพราะไม่มีตัวตน จึงเรียกว่า “โลกุตตรสติ”
สามญั สติ คอื สตทิ วั่ ไปทเี่ ราใชอ้ ยใู่ นชวี ติ ประจา วนั โดยทเี่ ราไมไ่ ด้ พิจารณาถึงความมีตัวตนหรือไม่มีตัวตน รู้แต่ว่ามีสติรู้สิ่งนั้นสิ่งนี้ ทาโน่น ทานี่ไปเรื่อย ๆ เมื่อเป็นอย่างนั้นก็กลายเป็นว่าบางครั้งมีสติอย่างมีตัวตน มีเราเป็นผู้มีสติ ไม่ใช่สติที่ไม่มีตัวตน เพราะอะไร ? เพราะมีสติและมีตัว ตน มีสติอย่างนั้น รู้ชัดในอารมณ์ที่เข้ามากระทบ มีผัสสะเกิดขึ้น แต่ก็ยัง ทุกข์กับอารมณ์นั้นอยู่ เพราะฉะนั้น สามัญสติจึงเป็นสติทั่วไป แต่โลกุตต รสตเิ มอื่ เกดิ ขนึ้ มาแลว้ ความทกุ ขเ์ กดิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ เพราะเรารบั รดู้ ว้ ยความรสู้ กึ ที่ไม่มีตัวตน
เพราะฉะนั้น การปฏิบัติธรรมจึงเน้นการละสักกายทิฏฐิ ดับความ เปน็ ตวั ตนของเราในเบอื้ งตน้ การดบั ความเปน็ ตวั ตน ดบั ความรสู้ กึ วา่ เปน็ เรา จะดับได้อย่างไร จะละได้อย่างไร ? การที่จะละตัวตน ดับความเป็น ตัวตน ก็ต้องพิจารณาเห็นความเป็นจริงของรูปนามขันธ์ห้าอันนี้ รูปนาม ขนั ธห์ า้ ของตวั เรานนั่ แหละ ไมใ่ ชข่ องคนอนื่ เรมิ่ มองเหน็ กายกบั ใจของเรา นเี่ ขาเปน็ คนละสว่ นกนั พจิ ารณาใหเ้ หน็ ชดั ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นระหวา่ ง กายกบั ใจทเี่ รยี กเปน็ ตวั เราของเรา เมอื่ ไหรก่ ต็ ามทเี่ หน็ วา่ ใจกบั กายเขาแยก
59


































































































   61   62   63   64   65