Page 81 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 81

แต่ถ้าเมื่อไหร่ก็ตามที่เห็นถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างรูปกับ นาม กายกับใจ เห็นว่าจิตกับกายแยกส่วนกันเมื่อไหร่ เราจะเห็นว่าเมื่อ มีคาถามเกิดขึ้นว่ารปูบอกว่าเป็นเราหรือเปล่า?นามหรือตัวจิตตัว วิญญาณรู้ บอกว่าเป็นเราไหม ? ทาไมถึงถามว่า บอกว่าเป็นเราหรือเปล่า กบั คดิ วา่ เปน็ เราหรอื เปลา่ ? คา ถามทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั - การถามวา่ “เขา บอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ?” นั่นคือสภาวธรรม อาการของรูปของนามเป็น สภาวธรรมที่ประกาศตนเองว่าเป็นอย่างไร รูปนามอันนั้นประกาศตน ที่กาลังปรากฏที่กาลังเห็นอยู่นั้นว่าเป็นอย่างไร
กับถามว่า “คิดว่าเป็นเราหรือเปล่า ?” บางครั้งจะทาให้เกิดมีความ เป็นเราเข้าไปเป็นผู้คิด คือการตรึกตรอง การคิดอย่างหนึ่ง ไม่ได้สังเกต ตามที่เขาเป็น แต่เรา “คิดว่า” กลายเป็นเหตุผลของเราเอง ไม่ได้พิจารณา สภาวธรรมทกี่ า ลงั ประกาศตวั เองจรงิ ๆ ตรงนที้ า ใหค้ วามชดั เจนไมเ่ กดิ ขนึ้ หรือการเห็นนั้นคลาดเคลื่อนไปได้ แต่การตั้งคาถามว่า รูปนามที่เกิดขึ้น เขาบอกว่าเป็นเราไหม ? รูปที่นั่งอยู่บอกว่าเป็นเราไหม ? จิตที่ทาหน้าที่รู้ บอกว่าเป็นเราหรือเปล่า ? เพื่อที่จะได้เห็นสัจธรรมตามความเป็นจริงว่า สภาวธรรมรูปนามที่กาลังปรากฏนี้เขาบอกว่าเป็นใครหรือเปล่า ประกาศ ตัวเองว่าเป็นอย่างไร
การถามแบบนี้จะทาให้เราเห็นชัดว่าทาไมรูปนามขันธ์ห้าจึงแยก เป็นขันธ์ ๆ แยกเป็นส่วน ๆ แล้วทาไมถึงบอกว่าเป็นอนัตตา ไม่ได้บอกว่า เป็นเราของเรา ตรงนี้แหละเป็นสิ่งสาคัญ ทีนี้ เมื่อเห็นรูปกับนาม/กายกับ ใจเป็นคนละส่วนกัน คนละส่วนกันหรือคนละกองหรือคนละขันธ์นั่นเอง พิจารณาต่อ เมื่อรูปกับนาม/กายกับใจเป็นคนละส่วนกัน รูปขันธ์กับ ว ญิ ญ า ณ ข นั ธ เ์ ป น็ ค น ล ะ ส ว่ น ก นั แ ล ว้ ว ญิ ญ า ณ ข นั ธ ก์ บั เ ว ท น า ข นั ธ ท์ เี ่ ก ดิ ข นึ ้
77


































































































   79   80   81   82   83