Page 463 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 463
445
ในเวลาชั่วขณะหนึ่ง อันนี้ไม่ใช่ว่าพระไม่ดีนะ ไม่ใช่ว่าเราเก่งกว่าพระ แต่ เป็นธรรมชาติของจิต
เมื่อจิตบริสุทธิ์ เราก็ทาได้ แค่เราสงบชั่วขณะหนึ่ง เหมือนเมื่อกี้ที่ ทาจิตให้ว่าง ให้โล่ง เบา แล้วก็กรวดน้าไป น้อมถึงใครจะรู้สึกได้เลยว่า คนนั้นจะได้รับจริง ๆ จะไม่ใช้น้าก็ได้ แล้วเวลากรวดไม่ต้องรีบ บางทีไป ตักบาตรรีบ ๆ รีบ ๆ ไปทางาน พอพระให้พร เราก็ลุกลี้ลุกลน กรวดน้า แบบรีบ สมาธิไม่ได้อยู่ กลับถึงบ้านหรือตอนเย็น ๆ น้อมถึงบุญตอนเช้า กรวดน้าแผ่เมตตา เราก็จะเย็นไปด้วย พร้อมจะทาเมื่อไหร่ก็ได้ เพราะบุญ เราระลึกได้ตลอดเวลา
โยคี : เวลาเรานั่งไปสักพัก แล้วเราปวดเราเมื่อย เราจาเป็นต้อง ทนให้อยู่ได้นาน ๆ ไหมครับ ?
พระอาจารย์ : จาเป็นต้องทนไหม ? ถ้าถามเรื่อง “ความจาเป็น” ไม่ จาเป็น! แต่ถามว่าทนแล้ว “ดี” ไหม ? ดี! ถ้าเราทนกับเวทนา ทนแบบไหน ถึงจะดี ? ไม่ใช่แบบกัดฟันทน ไม่ดีหรอก... แต่จะว่าไม่ดีเลยก็ไม่ได้ ถ้าเรา ทน อะไรจะเกิด ? พอเราทนปุ๊บนี่ ธรรมะอันไหนเกิด ? “ขันติ” ใช่ไหม ? ขันติจะใช้ตอนไหน ? ใช้ตอนที่เรามีความสุขหรือใช้ตอนที่มีเวทนา ? เพราะ ฉะนั้น การทนความปวด ขันติเราก็เพิ่มขึ้น
ท นี ี ้ ว ธิ สี ้ ู ส ด้ ู ว้ ย “ ป ญั ญ า ” ไ ม ใ่ ช ไ่ ป บ งั ค บั ใ ห เ้ ข า ห า ย ส ด้ ู ว้ ย ก า ร พ จิ า ร ณ า ดูว่า “เวทนาไม่เที่ยงเป็นอย่างไร ?” ที่บอกว่า เวทนาไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง เรามีเจตนาเข้าไปรู้ว่า เวทนาที่ไม่เที่ยงนั้น มีลักษณะอย่างไร ? เดี๋ยวปวด ปวดมากขึ้น ปวดมากขึ้น ปวดถึงที่สุดแล้ว เป็นยังไง ? ค่อย ๆ น้อยลงไหม ? ปวดแบบตุ้บ ๆ เดี๋ยวกระจาย หรือบีบ หรือหมุนเหมือนเป็นเกลียว หรือเหมือนเป็นสว่านไช ? นี่คือรู้ความไม่เที่ยง ของเวทนา
ขณะที่เราพอใจที่จะรู้เวทนาอย่างนี้ ๑) ขันติเกิด ๒) ปัญญา เห็น