Page 113 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 113

973
ขึ้นมา ตัวนี่นะยังถูกห่อหุ้มไปด้วยความสงบ มีบรรยากาศของความสงบรองรับห่อหุ้มอยู่ เวลารับรู้อารมณ์ ความสงบก็ทาหน้าที่รับรู้ไป อีกจุดหนึ่ง การที่เราสังเกตว่า สภาพจิตของเรา อยากให้สังเกตจุดหนึ่งก็คือว่า เวลาจิตมีความสงบ มีความใสเกิดขึ้นแล้วนี่นะ เราต้องพยายามใช้ความใสความสงบนั้น รับรู้อารมณ์หรือ เปล่า หรือจิตที่ใสที่สงบนั้น ทาหน้าที่ของตัวเองทันที
จิตที่ใสสงบ ที่เต็มไปด้วยความสงบความใสนี่นะ ไม่ว่าจะได้ยิน จิตดวงนี้แหละ ทาหน้าที่รับรู้ หรือ ตอ้ งพยายามเอาความสงบความใสไปรบั รู้ เหน็ ไหมตรงนี้ ถา้ ใหจ้ ติ ทสี่ งบแลว้ นนี่ ะ อยา่ งทบี่ อกจะเปน็ อยา่ งไร ให้จิตที่สงบทาหน้าที่รับรู้เองได้อย่างไร ถ้าเข้าไปในความสงบ แล้วจิตดวงนี้สงบด้วย พอออกมาเขาก็สงบ กลายเป็นหรือเป็นส่วนเดียวกับความสงบ จิตกับความสงบเป็นส่วนเดียวกัน กลายเป็นจิตที่สงบ
พอจิตมคีวามสงบพออารมณต์า่งๆทปี่รากฏขึ้นมาทางตาหูจมกู ลนิ้ กายใจลองดูว่าเราจาเปน็ เราต้องพยายามใช้ความสงบ หรือจิตตรงนี้ทาหน้าที่รับรู้โดยปริยาย นั่นคือการฝึกจิตของเรา ถ้าสังเกต แบบนี้ เราจะเห็นว่า เวลาเข้าไปกาหนดรู้ดูจิตในจิตนี่นะ จะต้องสังเกตให้ชัด ไม่ใช่แค่เป็นแค่เพียงผู้ดู แต่ ถ้าเราเข้าไปดูความสงบ ตรงนี้จะเป็นเยอะ...เวลาปฏิบัติธรรมอยากเข้าไปอยู่ในความสงบ พอเข้าไปอยู่ใน ความสงบ พอลืมตาขึ้นมา ถอยออกมาจากความสงบ พอมารู้อารมณ์ปัจจุบันในชีวิตประจาวัน ความสงบ ฝากเอาไว้ตอนที่เข้าสมาธิ ไม่ได้มาด้วย ออกมาเป็นจิตเฉย ๆ
ที่แบบรู้ จิตตรงนี้กลายเป็นจิตท่ีเฉยเป็นอุเบกขา แทนที่จะสงบ ความสงบตั้งอยู่ไม่นาน อาการ วุ่นวายจะเกิดขึ้นเร็ว พอมีผัสสะปึ๊บ ๆ เดี๋ยวก็จากที่สงบอยู่ก็ไม่สงบแล้ว กระสับกระส่าย แต่ถ้าพอลืมตา ขนึ้ มา ความสงบคลมุ ทงั้ ตวั มองรบั รอู้ ะไร ความรสู้ กึ สงบนนี่ ะทา หนา้ ทรี่ บั รู้ ประกอบ...ถา้ ยงิ่ มเี จตนา ทมี่ อง ผ่านบรรยากาศความสงบด้วย ยิ่งมีกาลังมากขึ้น ยิ่งดีขึ้นอีก
เ พ ร า ะ ฉ ะ น นั ้ ก า ร ส งั เ ก ต ต ร ง น คี ้ อื จ ดุ ส า ค ญั ค อื ส งิ ่ ส า ค ญั ใ น ก า ร ป ฏ บิ ตั ธิ ร ร ม ท า ใ ห เ้ ร า ม คี ว า ม ล ะ เ อ ยี ด มีความรู้เหตุและผล รู้เหตุปัจจัยของอารมณ์ ของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น เหตุปัจจัยของจิตที่ดีและไม่ดีที่เกิด ขึ้น เหตุปัจจัยของกิเลส อกุศลหรือกุศลที่เกิดขึ้นมา ตรงนี้ ปัญญาตัวนี้คือตัวสาคัญ และปัญญานี้ จะทาให้ เรายกจิตไปสู่ความเป็นอิสระได้ง่ายขึ้น ไปสู่ความว่าง พอมีผัสสะขึ้นมา มีความทุกข์ขึ้นมา ปัญญาตรงนี้รู้ แล้วยกจิตได้ทันที เปลี่ยนอารมณ์ได้เลย มองข้ามอารมณ์ได้ เปลี่ยนอารมณ์ได้ ยกจิตได้ เลือกอารมณ์ได้ ตรงนี้คือเลือกอารมณ์ได้ นี่คือจุดสาคัญ
เพราะฉะนั้น เวลาปฏิบัติ จึงบอกว่าให้สังเกตให้ดี ๆ ใส่ใจจุดนี้ ๆ แต่ถึงบอกไว้ละเอียดขนาดนี้ เดี๋ยวก็ลืมนะ โยคีก็ลืม เป็นธรรมดา เป็นสิทธิ์ของทุกคน ๆ ที่จะลืมได้ เราลืมได้คนอื่นก็ลืมได้ เวลาคน อื่นลืมเราจะได้ไม่หงุดหงิด อ้าว!ลืมอีกแล้ว ลืมอีกแล้ว อาจารย์นี่นะเจอบ่อย โยคีเข้ามาส่งอารมณ์ อ้าว! ลืมสภาวะหมดแล้ว พยายามคิด ๆ อาจารย์...บอกไม่เป็นไร ที่ลืมไปแล้วไม่ต้องส่ง ส่งที่ไม่ลืมก็พอแล้ว เวลาจะเล่าสภาวะ พยายามจะเล่าตัวที่ลืม อัศจรรย์มากเลย ถ้าเล่าได้คงไม่ลืม เล่าได้ก็ระลึกได้ ถ้าระลึก ได้ก็ไม่ลืม


































































































   111   112   113   114   115