Page 32 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 32

892
นั่นคือสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ พอพูดถึงขันธมาร ส่วนใหญ่เราก็พูดถึงร่างกายของเราว่ารูปขันธ์อันนี้เป็น ที่ตั้งแห่งกองทุกข์ เป็นที่อาศัยของเวทนาต่าง ๆ เป็นรังแห่งโรค เมื่อไหร่ที่มีเวทนาเกิดขึ้นมา เวทนานั้นก็ จะมาบีบคั้นมารบกวน พอรบกวนมาก ๆ ทาให้จิตใจไม่ตั้งมั่นไม่สงบ ก็ทาให้ไม่สามารถเห็นสภาวธรรม ตามความเป็นจริงได้
พระพุทธองค์เอาชนะหมู่มารได้อย่างไร ? เอาชนะได้ด้วยการตั้งสติ ด้วยสัจจะอธิษฐานว่า “ถ้าไม่ บรรลุธรรมก็จะไม่ลุกจากบัลลังก์” ขณะที่เรามีเวทนา เปรียบเหมือนมีหมู่มารเกิดขึ้น เราจะกาหนดรู้ อะไร ? เวทนาทางกายที่เกิดขึ้นเป็นสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น เราจะได้เห็นว่าร่างกายนี้เป็นที่ตั้งแห่ง กองทกุ ข์ แตท่ กุ ขอ์ กี อยา่ งหนงึ่ ทจี่ ะทา ใหเ้ ราหลดุ พน้ จากความทกุ ขไ์ ดก้ ค็ อื ทกุ ขลกั ษณะ ทกุ ขเวทนาทางกาย ทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ เปน็ เรอื่ งธรรมดาของการไดเ้ กดิ ขนึ้ มา แตท่ กุ ขลกั ษณะเปน็ ลกั ษณะอาการพระไตรลกั ษณ์ เวทนา ที่เกิดขึ้นมาก็ตั้งอยู่ในกฎไตรลักษณ์ คือแสดงถึงทุกขลักษณะ คือความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นแล้วดับไป มีแล้วหมดไป มีแล้วหายไป แต่ลักษณะการเกิดการดับที่ต่างไปที่เปลี่ยนไปนั้นคือความเป็นอนิจจัง
ในการปฏบิ ตั เิ ราพจิ ารณาดสู ภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏอยเู่ ฉพาะหนา้ ณ ขณะนี้ ถา้ มเี วทนาเกดิ ขนึ้ มา จะชนะเวทนาได้อย่างไร ? การพิจารณาถึงการเกิดดับของเวทนานั้นอย่างหนึ่ง การพิจารณาถึงความเป็น คนละส่วนระหว่างเวทนากับจิตที่ทาหน้าที่รู้ถึงเวทนานั้นอีกอย่างหนึ่ง การพิจารณาถึงความเป็นคนละส่วน ตรงนี้คือสัจธรรม คือธรรมะที่พระองค์ทรงแสดง เราไม่ใช่ผู้ที่จะค้นคว้าได้ด้วยตัวเอง แต่เราปฏิบัติธรรม เพอื่ พจิ ารณาตามคา สอนของพระพทุ ธเจา้ วา่ รปู นามขนั ธห์ า้ นเี้ ปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา เพราะ ฉะนั้น เราลองพิจารณาให้เห็นถึงความเป็นจริงตามธรรมะที่พระองค์ได้ทรงตรัสรู้แล้วนั้นเพื่อที่จะเห็นตาม เราเป็นสาวกผู้เจริญรอยตาม เห็นตามคาสอนของพระองค์ เห็นตามที่พระองค์เคยเห็นแล้ว
สัจธรรมที่พระองค์ทรงเห็นแล้วเข้าถึงแล้วทาให้ความทุกข์ดับไปได้ การที่เราปฏิบัติธรรมก็เพื่อที่ จะได้เห็นธรรมะหรือพิสูจน์ธรรมะของพระพุทธเจ้า เราจึงพิจารณาธรรมอันนั้นเหมือนอย่างที่พระองค์ทรง เคยเห็นแล้ว การที่พระองค์ทรงตรัสว่ารูปนามอันนี้ประกอบด้วยขันธ์ทั้งห้า แสดงว่าขันธ์แต่ละขันธ์นั้น เป็นคนละส่วนกัน เพราะฉะนั้น การที่เราทาจิตให้ว่าง ๆ เหมือนเป็นการแยกรูปแยกนาม แยกกายแยกจิต เพอื่ จติ กบั กายแยกจากกนั กเ็ ปน็ การแยกขนั ธแ์ ลว้ ขนั ธอ์ ะไรกบั ขนั ธอ์ ะไร ? รปู ขนั ธก์ บั นามขนั ธห์ รอื วญิ ญาณ ขันธ์
ลองพจิ ารณาดวู า่ ขณะทแี่ ยกจติ กบั กายเปน็ คนละสว่ นกนั ตรงไหนทบี่ อกวา่ เปน็ เรา ? เมอื่ แยกจาก กันแล้ว จิตยังมีความทุกข์ ยังมีอุปาทาน ยังยึดมั่นว่าเป็นตัวเราของเราอยู่หรือเปล่า ? หรือเมื่อเห็นชัดถึง ความเป็นคนละส่วนแล้ว เข้าไปหาความเป็นเราในขันธ์นั้น ๆ ไม่ได้เลย ? อย่างเช่น เข้าไปรู้รูปขันธ์ รูปขันธ์ ก็ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา พอไปดูที่ตัววิญญาณขันธ์ ก็ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา ตอนที่ไม่บอกว่าเป็นเรากับตอนที่มี เรานั้น ต่างกันอย่างไร ? ตอนที่มีปัญญาเห็นชัดว่าไม่มีเรา จิตมีความหนักหรือเบา ? เมื่อไหร่ที่มีเรา เหมือน มกี ารแบก มอี ปุ าทานเขา้ ไปหลงแบก ยดึ เอาวา่ รปู นามนเี้ ปน็ ของเรา ถงึ แมร้ ปู นามนตี้ งั้ อยทู่ เี่ ดมิ และทา หนา้ ที่ ของตนเป็นปกติ แต่มีความรู้สึกหนักเหมือนจิตใจแบกอะไรอยู่สักอย่างหนึ่ง


































































































   30   31   32   33   34